ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลสิ่งเร้าผิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเสร็จ
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ให้ดีขึ้น
บรรทัด 5:
#tactile = สัมผัสลวงกาย, สัมผัสลวงประสาท, การแปลสิ่งเร้าผิดทางสัมผัส, tactile illusion, การลวงสัมผัส
-->
'''การแปล[[สิ่งเร้า]]ผิด'''<ref name=RoyalDict>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ illusion ว่า "การลวงตา, การแปลสิ่งเร้าผิด, มายา, ภาวะลวงตา"</ref> หรือ '''มายา'''<ref name=RoyalDict/><ref name=Lexitron>{{cite web |title=Lexitron พจนานุกรมไทย<=>อังกฤษ รุ่น 2.6 |url=http://lexitron.nectec.or.th |work= |publisher=หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |year=2546|quote=ให้ความหมายของ "มายา" (สิ่งลวงตาลวงใจ) ว่า "illusion" }}</ref> ({{lang-en|illusion}}) หมายถึงความผิดพลาดหรือความบิดเบือนของการรับรู้ทาง[[ประสาทสัมผัส]]
({{lang-en|illusion}}) หมายถึงความผิดพลาดหรือความบิดเบือนของการรับรู้ทาง[[ประสาทสัมผัส]]
ที่ชี้ให้เห็นถึงวิธีที่[[สมอง]]จัดระเบียบและแปลผลข้อมูลทางประสาทสัมผัส
แม้ว่า การแปลสิ่งเร้าผิดจะบิดเบือน[[ความเป็นจริง]] แต่ก็เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดกับคนโดยมาก<ref>Solso, R. L. (2001) . [[Cognitive psychology]] (6th ed.) . Boston: Allyn and Bacon. ISBN 0-205-30937-2</ref>
เส้น 27 ⟶ 26:
ยกตัวอย่างเช่น การได้ยินเสียงโดยไม่มีเสียงจริง ๆ ในสิ่งแวดล้อมเป็นอาการประสาทหลอน
แต่ว่า การได้ยินเสียงคนในเสียงน้ำที่กำลังไหลอยู่ (หรือในเสียงอื่น ๆ) เป็นการแปลสิ่งเร้าผิด
 
ละครไมม์เป็นบทการละเล่นลวงตาที่สร้างขึ้นโดยอาศัยการเคลื่อนไหวกาย
คือผู้เล่นละครสร้างภาพลวงตาโดยเคลื่อนกายเหมือนกับทำปฏิกิริยากับวัตถุที่ไม่มี
ภาพลวงตาเช่นนี้เกิดขึ้นได้อาศัย[[ข้อสันนิษฐาน]]ที่ผู้ชมมีเกี่ยวกับความเป็นไปในโลกจริง ๆ
บทเล่นที่รู้จักกันดีก็คือ "กำแพง" (คือทำปฏิกิริยากับกำแพงที่ไม่มี) "ปีนขึ้นบันได" "พิง" "ปีนลงบันได" และ "ดึงและผลัก"
<gallery>
ไฟล์:Jean + Brigitte Soubeyran Im Zirkus.JPG|ละครไมม์
เส้น 37 ⟶ 31:
ไฟล์:PANTOMIME-PABLO.jpg|ละครไมม์
</gallery>
ละครไมม์เป็นบทการละเล่นลวงตาที่สร้างขึ้นโดยอาศัยการเคลื่อนไหวกาย
คือผู้เล่นละครสร้างภาพลวงตาโดยเคลื่อนกายเหมือนกับทำปฏิกิริยากับวัตถุที่ไม่มี
ภาพลวงตาเช่นนี้เกิดขึ้นได้อาศัย[[ข้อสันนิษฐาน]]ที่ผู้ชมมีเกี่ยวกับความเป็นไปในโลกจริง ๆ
บทเล่นที่รู้จักกันดีก็คือ "กำแพง" (คือทำปฏิกิริยากับกำแพงที่ไม่มี) "ปีนขึ้นบันได" "พิง" "ปีนลงบันได" และ "ดึงและผลัก"
 
{{anchor|optical}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
==ภาพลวงตา==
{{main|ภาพลวงตา}}
<gallery>
[[ไฟล์:Grey square optical illusion.PNG|300px|thumb|จตุรัส A มีสีเดียวกับจตุรัส B แต่ดูเหมือนสีจะต่างกันโดยสิ้นเชิง ([[ภาพลวงตาสีเดียวกัน]]) ]]
[[ไฟล์:Optical illusion greysquares.gif|300px|thumb|เฉลยภาพลวงตาแรก]]
[[ไฟล์:Optical illusion greysquares.gif|เฉลยภาพลวงตาแรก
ไฟล์:Grid illusion.svg|thumb|300px|องค์ประกอบต่าง ๆ คือ รูปร่าง ตำแหน่ง สี และความเปรียบต่าง ล้วนแต่มีส่วนก่อให้เกิดภาพลวงตาเป็นจุดดำที่เส้นตัด ([[ภาพลวงตาตาราง]]) ]]
</gallery>
[[ไฟล์:Two silhouette profile or a white vase.jpg|300px|thumb|คนสองคน หรือว่า แจกัน ([[แจกันรูบิน]]) ]]
[[ไฟล์:Duck-Rabbit illusion.jpg|thumb|300px|กระต่าย หรือว่า เป็ด]]
[[ไฟล์:Kanizsa triangle.svg|thumb|300px|ไม่มีสามเหลี่ยม หรือว่า มี ([[Kanizsa triangle|สามเหลี่ยมคะนิซซา]]) ]]
[[ไฟล์:Ponzo illusion.gif|thumb|300px|เส้นสีเหลืองยาวเท่ากัน แต่เส้นบนดูเหมือนยาวกว่า ([[ภาพลวงตาปอนโซ]]) ]]
[[ไฟล์:Gradient-optical-illusion.svg|thumb|300px|สีพื้นที่อยู่ข้างหลังมีความเข้มไปตามลำดับจากสีเทาเข้มไปยังเทาอ่อน แถบสีเหลี่ยมผืนผ้าตรงกลางก็ดูเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน แต่ความจริงมีสีเดียวกันทั้งแถบ]]
[[ไฟล์:Optical grey squares orange brown.svg|thumb|300px|ในภาพลวงตานี้ วงสีทั้งสองดูเหมือนจะแตกต่างกัน วงหนึ่งเป็นสีส้ม อีกวงเป็นสีน้ำตาล แต่ความจริงแล้วมีสีเดียวกัน]]
[[ไฟล์:Revolving circles.svg|thumb|300px|ถ้าเพ่งอยู่ที่จุดดำตรงกลาง แล้วขยับศีรษะเข้าไปใกล้ภาพหรือออกมาจากภาพ วงกลมทั้งสองเหมือนจะหมุนได้]]
[[ไฟล์:OpticallllusionStJohnLateran.jpg|thumb|300px|ลายกระเบื้องใน[[มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน]] ในกรุง[[โรม]] ลายก่อให้เกิดภาพลวงตาเป็นกล่องมีสามมิติ]]
[[ไฟล์:Spinning Dancer.gif|thumb|300px|นักเต้นรำดูเหมือนจะหมุนไปทั้งทางขวาและทั้งทางซ้าย]]
[[ไฟล์:Mond-vergleich.svg|thumb|300px|วงกลมมีสีส้มทั้งสองมีขนาดเท่ากัน แต่ดูเหมือนมีขนาดต่างกัน ([[ภาพลวงตาเอ็บบิงก์เฮาส์]]) ]]
[[ไฟล์:Cafe wall.svg|thumb|300px|เส้นตรงแนวนอนทุกเส้นเป็นไปขนานกัน แต่ไม่ดูเหมือนเส้นตรง ([[ภาพลวงตากำแพงร้านกาแฟ]]) ]]
[[ไฟล์:Lilac-Chaser.gif|thumb|300px|ลองเพ่งดูที่เส้นกากบาทตรงกลางประมาณ 20 วินาที แล้วดูว่ามีอะไรเกิดขึ้น (ถ้าไม่เห็นลองคลิ๊กดูภาพใหญ่) (ภาพลวงตา [[Lilac Chaser]]) ]]
[[ไฟล์:Motion illusion in star arrangement.png|thumb|300px|ภาพลวงตาแบบเคลื่อนที่]]
 
'''[[ภาพลวงตา]]''' หรือ '''การแปลสิ่งเร้าผิดทางตา''' ({{lang-en|optical illusion}}) ก็คือ การเห็นที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง หรือที่ทำให้เกิดความคิดผิด ๆ
ดังนั้น ข้อมูลที่ตาได้รับเกิดการแปลผลในสมองที่ทำให้เกิดการรับรู้ที่ไม่ตรงกับลักษณะจริง ๆ ของวัตถุที่เป็น[[สิ่งเร้า]]
เส้น 67 ⟶ 53:
แต่ว่า บางครั้ง มันพยายามจัดระเบียบข้อมูลเหล่านั้นโดยวิธีที่คิดว่าดีที่สุด (ที่อาจไม่ตรงกับความเป็นจริง) และบางครั้ง มันก็เติมข้อมูลที่ไม่มีให้เต็มเอง<ref>Yoon Mo Jung and Jackie (Jianhong) Shen (2008), J. Visual Comm. Image Representation, '''19''' (1) :42-55, [http://portal.acm.org/citation.cfm?id=1326364.1326487&coll=&dl=&CFID=11849883&CFTOKEN=72040242 ''First-order modeling and stability analysis of illusory contours''].</ref>
วิธีการทำงานของสมองแบบนี้เป็นเหตุของการแปลสิ่งเร้าผิด ๆ
 
===ตัวอย่างภาพลวงตาอื่นๆ===
<gallery>
[[ไฟล์:Two silhouette profile or a white vase.jpg|300px|thumb|คนสองคน หรือว่า แจกัน ([[แจกันรูบิน]]) ]]
[[ไฟล์:Duck-Rabbit illusion.jpg|thumb|300px|กระต่าย หรือว่า เป็ด]]
[[ไฟล์:Kanizsa triangle.svg|thumb|300px|ไม่มีสามเหลี่ยม หรือว่า มี ([[Kanizsa triangle|สามเหลี่ยมคะนิซซา]]) ]]
[[ไฟล์:Ponzo illusion.gif|thumb|300px|เส้นสีเหลืองยาวเท่ากัน แต่เส้นบนดูเหมือนยาวกว่า ([[ภาพลวงตาปอนโซ]]) ]]
[[ไฟล์:Gradient-optical-illusion.svg|thumb|300px|สีพื้นที่อยู่ข้างหลังมีความเข้มไปตามลำดับจากสีเทาเข้มไปยังเทาอ่อน แถบสีเหลี่ยมผืนผ้าตรงกลางก็ดูเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน แต่ความจริงมีสีเดียวกันทั้งแถบ]]
[[ไฟล์:Optical grey squares orange brown.svg|thumb|300px|ในภาพลวงตานี้ วงสีทั้งสองดูเหมือนจะแตกต่างกัน วงหนึ่งเป็นสีส้ม อีกวงเป็นสีน้ำตาล แต่ความจริงแล้วมีสีเดียวกัน]]
[[ไฟล์:Revolving circles.svg|thumb|300px|ถ้าเพ่งอยู่ที่จุดดำตรงกลาง แล้วขยับศีรษะเข้าไปใกล้ภาพหรือออกมาจากภาพ วงกลมทั้งสองเหมือนจะหมุนได้]]
[[ไฟล์:OpticallllusionStJohnLateran.jpg|thumb|300px|ลายกระเบื้องใน[[มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน]] ในกรุง[[โรม]] ลายก่อให้เกิดภาพลวงตาเป็นกล่องมีสามมิติ]]
[[ไฟล์:Spinning Dancer.gif|thumb|300px|นักเต้นรำดูเหมือนจะหมุนไปทั้งทางขวาและทั้งทางซ้าย]]
[[ไฟล์:Mond-vergleich.svg|thumb|300px|วงกลมมีสีส้มทั้งสองมีขนาดเท่ากัน แต่ดูเหมือนมีขนาดต่างกัน ([[ภาพลวงตาเอ็บบิงก์เฮาส์]]) ]]
[[ไฟล์:Cafe wall.svg|thumb|300px|เส้นตรงแนวนอนทุกเส้นเป็นไปขนานกัน แต่ไม่ดูเหมือนเส้นตรง ([[ภาพลวงตากำแพงร้านกาแฟ]]) ]]
[[ไฟล์:Lilac-Chaser.gif|thumb|300px|ลองเพ่งดูที่เส้นกากบาทตรงกลางประมาณ 20 วินาที แล้วดูว่ามีอะไรเกิดขึ้น (ถ้าไม่เห็นลองคลิ๊กดูภาพใหญ่) (ภาพลวงตา [[Lilac Chaser]]) ]]
[[ไฟล์:Motion illusion in star arrangement.png|thumb|300px|ภาพลวงตาแบบเคลื่อนที่]]
</gallery>
 
 
{{anchor|auditory}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
เส้น 75 ⟶ 79:
โดยสรุปก็คือ การแปลสิ่งเร้าผิดทางหูชี้ข้อเท็จจริงว่า หูและสมองของมนุษย์เป็นเพียงอวัยวะทางชีวภาพ เป็นเพียงอุปกรณ์ชั่วคราวที่ไว้ใช้เฉพาะหน้า
ไม่ใช่ระบบรับรู้เสียงที่สมบูรณ์ (ไม่ว่าจะมีผลดีหรือร้าย) ตัวอย่างของการแปลสิ่งเร้าผิดทางหูอย่างหนึ่งก็คือ Shepard tone ซึ่งเป็นวิธีการทำเสียงให้เหมือนกับกำลังสูงขึ้นหรือทุ้มลงอย่างต่อเนื่อง ๆ ทั้ง ๆ ที่ความจริงไม่ได้ไปทางไหนเลย
{{listen|filename=[[ไฟล์:DescenteInfinie.ogg|title=right|thumb|เสียงลวงประสาทหูแบบ Shepard tone|description=|format=[[Ogg]]}}
{{anchor|tactile}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->