ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
|[[ไฟล์:Van Gogh - la courtisane.jpg|thumb|128px|ฟัน โคค - "La courtisane" (ตามแบบไอเซน), ค.ศ. 1887]]
|}
ศิลปินญี่ปุ่นผู้มีอิทธิพลก็ได้แก่[[อุตามาโระ]] (Utamaro) และ[[โฮะกุไซ]] แต่สิ่งที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นคือขณะที่ศิลปะญี่ปุ่นไปมีอิทธิพลต่อศิลปินตะวันตก แต่ในญี่ปุ่น ''bunmeikaika'' (文明開化, "ความเป็นตะวันตก") ก็นำไปสู่การลดความนิยมการสร้างงานพิมพ์ภาพในญี่ปุ่นเอง
 
ศิลปินผู้ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะญี่ปุ่นก็รวมทั้ง[[อาร์เธอร์ เวสลีย์ ดาว]] (Arthur Wesley Dow), [[ปีแยร์ บอนาร์]], [[อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก]], [[แมรี คัสซาตต์]], [[แอดการ์ เดอกา]], [[ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์]], [[เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์]], [[โกลด มอแน]], [[ฟินเซนต์ ฟัน โคค]], [[กามีย์ ปีซาโร]], [[ปอล โกแก็ง]], [[เบอร์ธา ลัม]] (Bertha Lum), [[วิลล์ เบรดลีย์]] (Will Bradley), [[ออบรีย์ เบียร์ดสลีย์]] (Aubrey Beardsley), [[อัลฟองส์อัลฟอนส์ มูคา]] (AlphonseAlphons Mucha), [[กุสตาฟ คลิมต์]] และรวมทั้งสถาปนิก [[แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์]], [[ชาร์ลส์ เรนนี แม็คคินทอช]] (Charles Rennie Mackintosh) และ [[แสตนฟอร์ดสแตนฟอร์ด ไวท์ไวต์]] (Stanford White) ศิลปินบางคนถึงกับย้ายไปตั้งหลักแหล่งในญี่ปุ่นเช่น[[จอร์จฌอร์ฌ เฟอร์ดินองด์แฟร์ดีน็อง บิโชต์บีโก]] (Georges Ferdinand Bigot)
 
แม้ว่างานศิลปะสาขาต่างๆ จะได้รับอิทธิพลญี่ปุ่น งานพิมพ์เป็นงานที่นิยมกันมากที่สุด งานพิมพ์และงานโปสเตอร์ของ[[อองรีอ็องรี เดอ ตูลูสลูซ-โลแตร็กโลแทร็ก]]แทบจะไม่อาจจะเป็นงานที่สร้างขึ้นมาได้โดยปราศจากอิทธิพลของศิลปะญี่ปุ่น แต่งานภาพพิมพ์แกะไม้ก็มิได้มีการทำกันมาจนกระทั่งถึง[[เฟลิกซ์ วาลโลต์ตอง]] (Félix Vallotton) และ [[พอล โกแกง]] แต่ส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นภาพขาวดำ
 
[[ไฟล์:James Tissot - Young Women Looking at Japanese Objects.jpg|thumb|220px|left|สตรีผู้ดีตรวจชมฉากญี่ปุ่นโดย[[เจมส์ ทิสโซต์]] ราว ค.ศ. 1869-1870]]
[[เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์|วิสต์เลอร์]]มีบทบาทสำคัญในการนำศิลปะญี่ปุ่นเข้ามาในอังกฤษ ปารีสเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นศูนย์กลางของงานศิลปะญี่ปุ่น วิสต์เลอร์ก็สะสมงานเป็นจำนวนมากเมื่อพักอยู่ที่นั่น
 
งานของฟัน โคคหลายชิ้นก็เป็นงานที่เลียนแบบลักษณะและการวางองค์ประกอบของศิลปะ ''[[ภาพอุกิโยะ]]'' เช่นภาพ ''Le Père Tanguy'' ซึ่งเป็นภาพเหมือนของเจ้าของร้านขายอุปกรณ์ศิลปะ เป็นภาพที่มีงานภาพอุกิโยะหกชิ้นในฉากหลัง ฟัน โคคเขียน "La courtisane" ในปี ค.ศ. 1887 1887 หลังจากที่ได้เห็นงานภาพอุกิโยะโดย [[Kesai Eisen]] บนหน้าปกนิตยสาร ''Paris Illustré'' ในปี ค.ศ. 1886 ในขณะนั้นที่[[อันท์เวิร์พแอนต์เวิร์ป]] ฟัน โคคก็เริ่มสะสมภาพพิมพ์ญี่ปุ่นแล้ว
 
ในด้านดนตรีก็กล่าวได้ว่า[[จาโกโม ปุชชีนี]]ได้รับอิทธิพลญี่ปุ่นในการเขียนอุปรากร ''[[Madama Butterfly]]'' [[กิลเบิร์ตและซัลลิแวน]]เขียนจุลอุปรากร ''[[The Mikado]]'' ที่ได้รับอิทธิพลจากงานแสดงนิทรรศการ "Japanese village" ในลอนดอน<ref>Toshio Yokoyama, ''Japan in the Victorian mind: a study of stereotyped images of a nation, 1850-80‎'' 1987, p. xix</ref>
 
ลักษณะของศิลปะญี่ปุ่นที่มีอิทธิพลต่อศิลปินตะวันตก ก็ได้แก่ความไม่สมมาตร การจัดวางองค์ประกอบของหัวใจของภาพจะไม่อยู่ที่ศูนย์กลาง (off center) และการไม่ใช้ทัศนมิติ การใช้แสงที่ไม่มีเงา และการใช้สีที่สดใส ลักษณะที่ว่านี้ตรงกันข้ามกับศิลปะโรมัน-กรีกที่นิยมกันในบรรดาศิลปินในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้เชื่อว่าตนเองสามารถปลดปล่อยศิลปะให้เป็นอิสระจากศิลปะสถาบัน
บรรทัด 50:
การใช้เส้นโค้ง พื้นผิวที่เป็นลาย และความตัดกันของช่องว่าง และความราบของภาพก็มีอิทธิพลต่อ[[นวศิลป์]] เส้นและลายเหล่านี้กลายมาเป็นเส้นและลายของงานกราฟิกที่พบในงานของศิลปินทั่วโลก ลักษณะรูปทรง ราบ และสีกลายมาเป็นสิ่งที่ต่อมาเป็นศิลปะนามธรรมของศิลปะสมัยใหม่
 
ลักษณะของศิลปะญี่ปุ่นมีอิทธิพลต่อศิลปะประยุกต์ที่รวมทั้งเฟอร์นิเจอร์เครื่องเรือน ผ้าทอ เครื่องประดับ และการออกแบบกราฟิก
 
== อ้างอิง ==