ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|ศิลปะญี่ปุ่น}}
{{ใช้ปีคศ|width=250px}}
[[ไฟล์:Lautrec reine de joie (poster) 1892.jpg|thumb|right|250px|ภาพพิมพ์โปสเตอร์โดย[[อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก]] ค.ศ. 1892]]
'''คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น''' ({{lang-en|Japonism หรือ Japonisme}}) เดิมมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในภาษาอังกฤษด้วย เป็นคำที่หมายถึง[[ศิลปะตะวันตก]]ที่ได้รับอิทธิพลจาก[[ศิลปะญี่ปุ่น|ศิลปะของญี่ปุ่น]] คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกโดยชูลส์ แคลตีในหนังสือ ''L'Art Francais en 1872'' (''ศิลปะฝรั่งเศสของปี ค.ศ. 1872'') ที่ตีพิมพ์ในปีเดียวกัน<ref name="Ives">Colta F. Ives, "The Great Wave: The Influence of Japanese Woodcuts on French Prints", 1974, The Metropolitan Museum of Art, ISBN 0-87099-098-5</ref> งานที่ถ่ายทอดจากพื้นฐานของศิลปะญี่ปุ่นโดยตรงใน[[ศิลปะตะวันตก]]โดยเฉพาะงานที่สร้างโดยศิลปิน[[ชาวฝรั่งเศส]]เรียกว่า “japonesque”"japonesque" ("แบบญี่ปุ่น”ญี่ปุ่น")
 
ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1860 [[ภาพพิมพ์แกะไม้]][[ภาพอุกิโยะ]] (ukiyo-e) <!--ไม่ใช่ อุกิโย (ukiyo) ซึ่งเป็นอีกคำหนึ่ง -->ของญี่ปุ่นกลายเป็นแหล่งของแรงบันดาลใจสำหรับ[[ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์|จิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์]]ชาวยุโรปในฝรั่งเศสและในประเทศตะวันตกและในที่สุดก็รวมไปถึงจิตรกร[[อาร์ตนูโวนวศิลป์]]และ[[บาศกนิยม]] (cubism) ต่อมา สิ่งที่กระทบความรู้สึกของศิลปินของศิลปะญี่ปุ่นคือการละการใช้[[ทัศนมิติ]]และเงา, การใช้สีจัดในบริเวณภาพที่ราบ, เสรีภาพในการจัดองค์ประกอบในการวางหัวเรื่องของภาพจากศูนย์กลางของภาพ ที่ส่วนใหญ่อยู่ในมุมทแยงด้านต่ำจากฉากหลัง
 
==ประวัติ==
เส้น 11 ⟶ 10:
ผู้นิยมญี่ปุ่นก็เริ่มสะสมงาน[[ศิลปะญี่ปุ่น|ศิลปะของญี่ปุ่น]]กันอย่างขนานใหญ่ โดยเฉพาะงานพิมพ์ศิลปะ[[ภาพอุกิโยะ]] ที่จะเห็นได้จากตัวอย่างแรกๆ ในปารีส ราว ค.ศ. 1856 ศิลปินชาวฝรั่งเศส[[เฟลีซ บราเคอมงด์]] (Félix Bracquemond) พบงานก็อปปีของภาพร่างเป็นครั้งแรกของหนังสือ ''[[งานร่างของโฮะกุไซ]]'' (''Hokusai Manga'') ในห้องพิมพ์ของช่างพิมพ์ของตนเอง ซึ่งเป็นกระดาษที่ใช้ห่อสินค้าพอร์ซีเลน ในปี ค.ศ. 1860 และ ค.ศ. 1861 ก็เริ่มมีการพิมพ์งานขาวดำของ[[ภาพอุกิโยะ]]ในหนังสือเกี่ยวกับญี่ปุ่น
 
[[ชาร์ลส์ โบเดอแลร์]] (Charles Baudelaire) เขียนในจดหมายในปี ค.ศ. 1861 ว่า: "สักชั่วระยะเวลาหนึ่ง ผมได้รับห่อ "ของญี่ปุ่น”ญี่ปุ่น" (japonneries) ผมก็เลยแบ่งกับเพื่อน...." และปีต่อมา "La Porte Chinoise”Chinoise" ร้านขายสินค้าจากญี่ปุ่นก็ขายสินค้าที่รวมทั้งภาพพิมพ์ก็เปิดขึ้นที่ถนนริโวลีในปารีสซึ่งเป็นถนนสายที่เป็นที่นิยมสำหรับการซื้อของ<ref name="Ives"/> ในปี ค.ศ. 1871 [[ชาร์ล กามีย์ แซง-ซองส์]]ก็เขียนอุปรากรองค์เดียวชื่อ ''[[La princesse jaune]]'' โดยมี[[หลุยส์ กาเลต์]]เป็นผู้เขียนบทร้อง ซึ่งเป็นเรื่องราวของเด็กหญิงชาวดัตช์ผู้อิจฉาเพื่อนศิลปินผู้มีหลงงาน[[ภาพพิมพ์แกะไม้]][[ภาพอุกิโยะ]]อย่างหัวปักหัวปำ
 
{| style="float: left;"
เส้น 18 ⟶ 17:
|-
|
|[[ไฟล์:Van Gogh the blooming plumtree (after Hiroshige), 1887.jpg|thumb|160px|''The Blooming Plum Tree'' (ต้นพลัมบาน) [[ฟินเซนต์ ฟานฟัน ก็อกฮ์โคค]] (จาก[[ฮิโระชิเงะ]]), [[ค.ศ. 1887]]]]
|}
ในระยะแรกแม้ว่าบราเคอมงด์จะติดต่อหางานพิมพ์ด้วยตนเอง แต่งานพิมพ์แกะไม้ส่วนใหญ่ที่เข้ามาทางตะวันตกเป็นงานของจิตรกรญี่ปุ่นร่วมสมัยของระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1860 ถึง 1870 จากนั้นก็เป็นเวลานานกว่าที่ทางตะวันตกจะได้เริ่มเห็นงานคลาสสิกของศิลปินชั้นครูรุ่นก่อนหน้านั้น
เส้น 31 ⟶ 30:
| colspan="2" |
|-
|[[ไฟล์:Van Gogh - Portrait of Pere Tanguy 1887-8.JPG|right|thumb|170px|ฟานฟัน ก็อกฮ์โคค - ภาพเหมือนของ Père Tanguy ตัวอย่างของงานที่มีอิทธิพลจากภาพอุกิโยะ]]
|[[ไฟล์:Van Gogh - la courtisane.jpg|thumb|128px|ฟานฟัน ก็อกฮ์โคค - "La courtisane" (ตามแบบไอเซน), ค.ศ. 1887]]
|}
ศิลปินญี่ปุ่นผู้มีอิทธิพลก็ได้แก่[[อุตามาโระ]] (Utamaro) และ [[โฮะกุไซ]] แต่สิ่งที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นคือขณะที่ศิลปะญี่ปุ่นไปมีอิทธิพลต่อศิลปินตะวันตก แต่ในญี่ปุ่น ''bunmeikaika'' (文明開化, "ความเป็นตะวันตก") ก็นำไปสู่การลดความนิยมการสร้างงานพิมพ์ภาพในญี่ปุ่นเอง
 
ศิลปินผู้ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะญี่ปุ่นก็รวมทั้ง[[อาร์เธอร์ เวสลีย์ ดาว]] (Arthur Wesley Dow), [[ปิแยร์ปีแยร์ บงนาร์ดบอนาร์]], [[อองรีอ็องรี เดอ ตูลูสลูซ-โลแตร็กโลแทร็ก]], [[แมรี คาซาทคัสซาตต์]], [[เอ็ดแอดการ์ เดอกาส์อกา]], [[ปีแยร์-ออโอกุสต์ เรอนัวร์]], [[เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์]], [[โคโกลด โมเนท์มอแน]], [[ฟินเซนต์ ฟานฟัน ก็อกฮ์โคค]], [[คามิลล์กามีย์ ปิซาร์โรปีซาโร]], [[พอปอล โกแกงแก็ง]], [[เบอร์ธา ลัม]] (Bertha Lum), [[วิลล์ เบรดลีย์]] (Will Bradley), [[ออบรีย์ เบียร์ดสลีย์]] (Aubrey Beardsley), [[อัลฟองส์ มูคา]] (Alphonse Mucha), [[กุสตาฟ คลิมต์]] และรวมทั้งสถาปนิก [[แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์]], [[ชาร์ลส์ เรนนี แม็คคินทอช]] (Charles Rennie Mackintosh) และ [[แสตนฟอร์ด ไวท์]] (Stanford White) ศิลปินบางคนถึงกับย้ายไปตั้งหลักแหล่งในญี่ปุ่นเช่น[[จอร์จ เฟอร์ดินองด์ บิโชต์]] (Georges Ferdinand Bigot)
 
แม้ว่างานศิลปะสาขาต่างๆ จะได้รับอิทธิพลญี่ปุ่น งานพิมพ์เป็นงานที่นิยมกันมากที่สุด งานพิมพ์และงานโปสเตอร์ของ[[อองรี เดอ ตูลูส-โลแตร็ก]]แทบจะไม่อาจจะเป็นงานที่สร้างขึ้นมาได้โดยปราศจากอิทธิพลของศิลปะญี่ปุ่น แต่งานภาพพิมพ์แกะไม้ก็มิได้มีการทำกันมาจนกระทั่งถึง[[เฟลิกซ์ วาลโลต์ตอง]] (Félix Vallotton) และ [[พอล โกแกง]] แต่ส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นภาพขาวดำ
เส้น 43 ⟶ 42:
[[เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์|วิสต์เลอร์]]มีบทบาทสำคัญในการนำศิลปะญี่ปุ่นเข้ามาในอังกฤษ ปารีสเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นศูนย์กลางของงานศิลปะญี่ปุ่น วิสต์เลอร์ก็สะสมงานเป็นจำนวนมากเมื่อพักอยู่ที่นั่น
 
งานของฟานฟัน ก็อกฮ์โคคหลายชิ้นก็เป็นงานที่เลียนแบบลักษณะและการวางองค์ประกอบของศิลปะ ''[[ภาพอุกิโยะ]]'' เช่นภาพ ''Le Père Tanguy'' ซึ่งเป็นภาพเหมือนของเจ้าของร้านขายอุปกรณ์ศิลปะ เป็นภาพที่มีงานภาพอุกิโยะหกชิ้นในฉากหลัง ฟานฟัน ก็อกฮ์เขียนโคคเขียน "La courtisane" ในปี ค.ศ. 1887 1887 หลังจากที่ได้เห็นงานภาพอุกิโยะโดย [[Kesai Eisen]] บนหน้าปกนิตยสาร ''Paris Illustré'' ในปี ค.ศ. 1886 ในขณะนั้นที่[[อันท์เวิร์พ]]ฟานฟัน ก็อกฮ์โคคก็เริ่มสะสมภาพพิมพ์ญี่ปุ่นแล้ว
 
ในด้านดนตรีก็กล่าวได้ว่า[[จาโกโม ปุชชีนี]]ได้รับอิทธิพลญี่ปุ่นในการเขียนอุปรากร ''[[Madama Butterfly]]'' [[กิลเบิร์ตและซัลลิแวน]]เขียนจุลอุปรากร ''[[The Mikado]]'' ที่ได้รับอิทธิพลจากงานแสดงนิทรรศการ "Japanese village" ในลอนดอน<ref>Toshio Yokoyama, ''Japan in the Victorian mind: a study of stereotyped images of a nation, 1850-80‎'' 1987, p. xix</ref>
เส้น 49 ⟶ 48:
ลักษณะของศิลปะญี่ปุ่นที่มีอิทธิพลต่อศิลปินตะวันตก ก็ได้แก่ความไม่สมมาตร การจัดวางองค์ประกอบของหัวใจของภาพจะไม่อยู่ที่ศูนย์กลาง (off center) และการไม่ใช้ทัศนมิติ การใช้แสงที่ไม่มีเงา และการใช้สีที่สดใส ลักษณะที่ว่านี้ตรงกันข้ามกับศิลปะโรมัน-กรีกที่นิยมกันในบรรดาศิลปินในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้เชื่อว่าตนเองสามารถปลดปล่อยศิลปะให้เป็นอิสระจากศิลปะสถาบัน
 
การใช้เส้นโค้ง พื้นผิวที่เป็นลาย และความตัดกันของช่องว่าง และความราบของภาพก็มีอิทธิพลต่อ[[อาร์ตนูโวนวศิลป์]] เส้นและลายเหล่านี้กลายมาเป็นเส้นและลายของงานกราฟิกที่พบในงานของศิลปินทั่วโลก ลักษณะรูปทรง ราบ และสีกลายมาเป็นสิ่งที่ต่อมาเป็นศิลปะนามธรรมของศิลปะสมัยใหม่
 
ลักษณะของศิลปะญี่ปุ่นมีอิทธิพลต่อศิลปะประยุกต์ที่รวมทั้งเฟอร์นิเจอร์ ผ้าทอ เครื่องประดับ และการออกแบบกราฟิก