ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะดัตช์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34:
{{บทความหลัก|จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์}}
[[ไฟล์:Heda hermitage.jpg|thumb|left|220px|"อาหารเช้ากับกุ้งมังกร" โดย[[วิลเล็ม เคลสซูน เฮดา]] (คริสต์ศตวรรษที่ 17)]]
"ยุคทองของเนเธอร์แลนด์" เป็นสมัยของการเขียนภาพที่รุ่เรืองที่สุดสมัยหนึ่งของจิตรกรรมตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในช่วงนี้มีภาพเขียนออกมาเป็นจำนวนมากจนกระทั่งทำให้ราคาของภาพเขียนตกลงไปมาก ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1620 จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์มีลักษณะที่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดจาก[[ศิลปะบาโรก]]ที่เป็นลักษณะการเขียนแบบ[[ปีเตอร์เปเตอร์ พอลเปาล์ รูเบนส์รือเบินส์]]ในฟลานเดอร์สฟลานเดอส์ที่ไม่ไกลนัก มาเป็นการเขียนที่เป็นความจริงมากขึ้นและมีความคำนึงถึงความเป็นจริงในสิ่งแวดล้อมรอบๆรอบ ๆ ตัว ประเภทของจิตรกรรมที่เขียนกันก็ได้แก่[[จิตรกรรมประวัติศาสตร์]], [[ภาพเหมือน]], [[จิตรกรรมภูมิทัศน์]], [[จิตรกรรมภูมิทัศน์เมือง]], [[ภาพนิ่ง]] และ[[ภาพชีวิตประจำวัน]] ในการวาดภาพสี่อย่างหลังจิตรกรชาวเนเธอร์แลนด์สร้างลักษณะที่เด่นมากจนกลายเป็นผู้นำของจิตรกรรมประเภทนี้ต่อมาอีกถึงสองศตวรรษ นอกจากนั้นภาพเขียนของเนเธอร์แลนด์ก็มักจะเป็นภาพเขียนที่แฝงคำสอน แต่ยุคทองมิได้ฟื้นตัวขึ้นหลังจากการรุกรานของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1671 แต่ก็มิได้สิ้นสุดลงจนกระทั่งปี ค.ศ. 1710
 
จิตรกรชาวเนเธอร์แลนด์โดยเฉพาะทางตอนเหนือพยายามกระตุ้นอารมณ์ของผู้ชมภาพโดยการทำให้ผู้ชมมีความรู้สึกใกล้ชิดอย่างลึกซึ้งราวกับเป็นส่วนหนึ่งของผู้ร่วมเหตุการณ์ภายในภาพ