ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
 
==อาการหดหู่==
[[ไฟล์:DelacroixTasso.jpg|left|180px|thumb|"ทอร์ควาโทตอร์กวาโต ทาสตัสโซในโรงพยาบาลเซนต์แอนน์ซานตันนาที่แฟร์รารา" โดย[[เออแฌน เดอลาครัว]]]]
ฟัน โคคหวนคิดนึกถึงภาพเหมือนของกวีชาวอิตาลี[[Torquato Tasso|ทอร์ควาโทตอร์กวาโต ทาสโซตัสโซ]]โดย (กวีชาวอิตาลี) ที่[[เออแฌน เดอลาครัว]]เขียนในสถานบำบัดผู้ป่วยด้วยโรคจิตอยู่หลายครั้ง หลังจากที่ไปเมือง[[Montpellier|มงเปลิเยร์มงเปอลีเย]]กับ[[พอปอล โกแกงแก็ง]] เพื่อไปดูงานสะสมของ[[Alfred Bruyas|อัลเฟรดอาลแฟรด บรูยาส์บรูว์ยา]] ฟัน โคคก็เขียนจดหมายถึง[[เตโอ ฟัน โคค (นักค้าขายศิลปะ)|เตโอ]] (น้องชาย) ขอให้ช่วยหางานก๊อบปี้ของสำเนาภาพพิมพ์ของงานเขียนชิ้นนี้ให้<ref>Letter [http://webexhibits.org/vangogh/letter/18/564.htm 564]</ref> ด้วยประมาณสามเดือนกว่าครึ่งก่อนหน้านี้ ๆ ต่อมาฟัน โคคก็ได้เคยมีความคิดเกี่ยวกับลักษณะที่จะนำภาพเหมือนของตัสโซมาเป็นตัวอย่างภาพเหมือนที่เขาต้องการจะเขียน: "''แต่จะเป็นภาพที่ประสานกับภาพที่เขียนโดยเออแฌน เดอลาครัวในการพยายามที่จะแสดง "ทาสตัสโซในที่จำขัง" และภาพอื่นๆอื่น ๆ อีกหลายภาพที่แสดงให้เห็นถึงบุคคลิกบุคลิกที่แท้จริง อา ! ภาพเหมือน, ภาพเหมือนที่แสดงความคิด, วิญญาณ ของผู้เป็นแบบ, นี่แหละคือสิ่งที่ฉันคิดว่าควรจะเป็นลักษณะที่ปรากฏในภาพ"''<ref>Letter [http://webexhibits.org/vangogh/letter/18/531.htm 531]</ref>
 
ฟัน โคคเขียนจดหมายถึงเตโอในปี ค.ศ. 1890 เกี่ยวกับภาพเขียนว่า
{{quote|ฉันเขียนภาพเหมือนของ เอ็ม. คุณกาแชเสร็จเรียบร้อยที่แล้ว ในภาพนี้เขามีใบหน้าที่หดหู่ แต่อาจจะดูเหมือนแกจะมีหน้าตาว่าบูดบึ้งสำหรับผู้ที่ได้เห็นเช่นกัน... เศร้าแต่อ่อนโยน ทั้งยังชัดเจนและยังแสดงให้เห็นว่าเป็นคนที่มีสติปัญญา ภาพเขียนอย่างนี้ควรจะนี่เป็นวิธีเขียนภาพเหมือนที่ควรจะเขียนกัน...}}
 
== ประวัติการเป็นเจ้าของ ==
* ภาพดั้งเดิมขายโดยน้องสะใภ้ของฟัน โคคเป็นจำนวน 300 ฟรังก์ในปี ค.ศ. 1897 ต่อมาก็ถูกขายให้แก่[[Paul Cassirer|ปอลเพาล์ กาซีเรคัสซีเรอร์]] (ค.ศ. 1904), เคสเลอร์เค็สส์เลอร์ (ค.ศ. 1904) และดรูเอต์ดรุแอ (ค.ศ. 1910) ในปี ค.ศ. 1911 หอศิลป์แห่งรัฐที่[[แฟรงก์เฟิร์ต]]ก็ซื้อต่อจากดรูเอต์รุแอ และตั้งแสดงอยู่ที่นั่นจนกระทั่งปี ค.ศ. 1933 เมื่อถูกนำไปซ่อน ในปี ค.ศ. 1937 ภาพเขียนก็ถูกยึดโดยกระทรวงเพื่อการส่งเสริมการประเทืองปัญญาของสาธารณชนและการโฆษณาชวนเชื่อ (Ministry of Public Enlightenment and Propaganda) ซึ่ง<ref>เป็นสาขางานหนึ่งของ[[นาซี]]ที่พยายามกำจัดภาพเขียนก่อนสงครามที่ถือว่าเป็น [[degenerate art|ศิลปะที่แสดงความเสื่อมโทรมทางวัฒนธรรม]] (degenerate art)</ref> ภาพเขียนตกไปเป็นของ[[แฮร์มันน์ เกอริง]] ผู้ซึ่งรีบขายให้แก่นักซื้องานศิลปะคนหนึ่งใน[[อัมสเตอร์ดัม]] นักซื้อหันไปผู้นี้ขายภาพต่อให้กับนักสะสมศิลปะซิกชื่อซีกฟรีด ครามาร์สกีผู้นำมาร์สกี เขานำภาพเขียนชิ้นนี้ติดตัวไปด้วยเมื่อหนีไปนิวยอร์ก ที่ครามาร์สกีและมักจะให้งานศิลปะยืมโดย[[พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน]] ยืมไปจัดแสดงอยู่บ่อยครั้ง

ในปี ค.ศ. 1990 ตระกูลครามาร์สกีก็ได้ประมูลขาย ภาพเขียนมาได้รับความมีชื่อเสียงนี้เมื่อวันที่ [[15 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1990]] เมื่อที่ห้องประมูลภาพ[[คริสตีส์]]ใน[[นครนิวยอร์ก]] ไซโต เรียวเอ (Saitō Ryōei) นักธุรกิจชาวญี่ปุ่นประธานกิตติมศักดิ์ของบริษัทผลิตกระดาษไดโชวะ ซื้อภาพในจ่ายเงินประมูลไปด้วยราคา 82.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐในการประมูลที่ห้องประมูล ทำให้ภาพ[[คริสตีส์]]ใน[[นครนิวยอร์ก]]ที่ทำให้เขียนนี้กลายเป็น[[รายชื่อภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด|ภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด]]ในโลกในขณะนั้น Saitō ผู้เป็นประธานกิตติมศักดิ์ของบริษัทผลิตกระดาษไดโชวะไซโตผู้มีอายุ 75 ปีสร้างความโกรธเคืองระดับโลกเมื่อกล่าวว่าจะเผาภาพเขียนพร้อมกับการร่างของตนเองเมื่อเสียชีวิต แต่ต่อมา ไซโตก็พยายามไกล่เกลี่ยว่าความหมายที่ตั้งใจคือต้องการที่จะอนุรักษ์ภาพเขียนตลอดไป ผู้ช่วยของไซโตให้คำอธิบายต่อไปเพิ่มว่าคำพูดดังกล่าวเป็นเพียงการพูดเพื่อแสดงความรู้สึกถึงความผูกพันอันอย่างลึกซึ้งของ Saitō ไซโตต่อภาพเขียนเท่านั้น ต่อมาไซโตก็กล่าวว่าจะอุทิศภาพเขียนให้กับรัฐบาลหรือพิพิธภัณฑ์ แต่หลังจากไซโตที่เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1996 ที่ตั้งอยู่ของภาพเขียนและเจ้าของก็กลายเป็นเรื่องลึกลับ แต่มาเมื่อต้นปี ค.ศ. 2007[http://www.artsjournal.com/culturegrrl/2007/01/dr_gachet_sighting_it_was_flot.html] ก็มีข่าวมาว่า เมื่อสิบปีก่อน ภาพเขียนถูกขายไปแล้วสิบปีก่อนหน้านั้นโดยไซโตเองให้แก่นักลงทุนทางการเงินที่เกิดในออสเตรียชื่อวูล์ฟกังว็อล์ฟกัง เฟลิทเทิล แต่หลังจากที่ประสบปัญหาทางการเงิน เฟลิทเทิลก็ต้องขายภาพเขียนต่อ แต่ยังไม่เป็นที่ทราบกันว่าใครเป็นผู้ซื้อ
 
* ภาพที่สองเป็นของ[[พิพิธภัณฑ์ออร์แซ]]ใน[[ปารีส]]