ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรณีมายาเกวซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox Military Conflict
| conflict = กรณี''มายาเกซ''
| partof = [[สงครามเวียดนาม]]<br>และ[[สงครามเย็น]]
| image = [[ไฟล์:MayagüezIncident1.jpg|300px]]
| caption = เรือมายาเกซขณะถูกเรือปืนของเขมรแดงล้อม
เส้น 9 ⟶ 10:
| result = สหรัฐอเมริกาได้รับชัยชนะ โดยยึดเรือและตัวประกันกลับคืนมาได้
| status =
| combatant1 = [[ไฟล์:Flag of United States.svg|border|25px]] [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]
| combatant2 = [[ไฟล์:Flag of Democratic Kampuchea.svg|border|25px]] สาธารณรัฐสังคมนิยมกัมพูชาประชาธิปไตย
| combatant3 =
| commander1 = [[Randall W. Austin|เรนเดลล์ ดับเบิลยู. ออสติน]]
| commander2 = เอ็ม ซอน
| commander3 =
| strength1 = 1,000220
| strength2 = 85-100
| strength3 =
เส้น 21 ⟶ 22:
| casualties2 = เสียชีวิต 13-25<br>บาดเจ็บ 15<br>เรือปืนจมลง 3 ลำ
| casualties3 =
| notes =
| notes = สหรัฐอเมริกาต้องถอนกำลังทหารออกจากประเทศไทยจนหมดสิ้นในปลายปีเดียวกัน
}}
'''กรณี''มายาเกซ''''' ({{lang-en|''Mayaguez'' incident}}) เป็น[[ปฏิบัติการทางทหาร]]ของ[[สหรัฐอเมริกา]]ที่รวดเร็ว และเกิดขึ้นเพียง 3 วัน ระหว่างวันที่ [[13 พฤษภาคม|13]]-[[15 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1975]] แต่ได้ส่งผลกระทบต่อ[[การเมือง]]ยังภูมิภาค[[อินโดจีน]]
 
เวลาประมาณ 15.20 น. ของวันที่ [[12 พฤษภาคม]] เรือบรรทุกสินค้า ซึ่งใช้บรรทุกเวชภัณฑ์และเสบียงสัญชาติ[[อเมริกัน]]ชื่อ เอสเอส ''มายาเกซ'' (SS ''Mayaguez'') ซึ่งแล่นระหว่าง[[ฮ่องกง]]และ[[ประเทศไทย]] ขณะที่แล่นอยู่ห่างจาก[[ชายฝั่ง]]ของ[[ประเทศกัมพูชา]]เพียง 60 [[ไมล์]] ซึ่งถือเป็นเขต[[น่านน้ำสากล]] ได้ถูกเรือปืนจำนวนหลายลำของ[[กัมพูชาประชาธิปไตย]] ([[เขมรแดง]]) เข้าล้อมและบุกยึด จับตัวประกันซึ่งเป็นกัปตันและลูกเรือไว้ได้ทั้งหมด 39 คน จากนั้นได้ลากไปจอดลอยลำทิ้งสมอไว้ที่เกาะตัง ใกล้กับเมือง[[กัมปงโสม]] (สีหนุวิลล์ ในปัจจุบัน)
 
การกระทำดังกล่าวถือว่าเป็นการหยามหน้ารัฐบาลสหรัฐอเมริกาอย่างรุนแรง และด้วยขณะนั้น[[สงครามเวียดนาม]]เพิ่งยุติลงได้เพียงไม่กี่วัน เนื่องจากการที่กองทัพเขมรแดงและ[[เวียดนามเหนือ]]สามารถ[[การยึดกรุงไซ่ง่อน|บุกยึด]][[ไซง่อน|กรุงไซง่อน]] [[ประเทศเวียดนามใต้]] และ[[กรุงพนมเปญ]] ประเทศกัมพูชา ได้อย่างเบ็ดเสร็จ ถือเป็นชัยชนะครั้งใหญ่ของ[[ลัทธิคอมมิวนิสต์]] และเป็นความพ่ายแพ้อย่างอัปยศครั้งประวัติศาสตร์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา
 
รัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดย นาย[[เจอรัลด์ ฟอร์ด]] [[ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา|ประธานาธิบดี]] ได้ตัดสินใจอย่างเร่งด่วนส่งกองกำลังทหาร ซึ่งส่วนมากเป็น[[United States Marine Corps|นาวิกโยธิน]]ประมาณ 1,000 นาย จาก[[เกาะโอะกินะวะ|เกาะโอกินาวา]]และ[[Subic Bay|อ่าวซูบิค]] เข้าประจำการที่[[สนามบินอู่ตะเภา]]ในพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นฐานในการปฏิบัติการบุกยึดเรือและตัวประกันคืน ในวันที่ [[13 พฤษภาคม]] โดยปฏิบัติการเริ่มขึ้นใน[[สนธยา|เช้ามืด]]ของวันที่ [[14 พฤษภาคม]] โดยมีเครื่องบินรบจากฐานทัพอเมริกาที่[[จังหวัดอุดรธานี]]และ[[นครราชสีมา]]ออกปฏิบัติการร่วมด้วย และประสบความสำเร็จในเวลาประมาณ 11.00 น. โดยสามารถจมเรือปืนของเขมรแดงลงได้ 3 ลำ มีความสูญเสียด้วยกันของทั้งสองฝ่าย แต่สามารถช่วยเหลือตัวประกัน รวมถึงลูกเรือประมงของไทยจำนวน 5 คนออกมาได้
 
ทว่า ปฏิบัติการดังกล่าว ทางสหรัฐอเมริกามิได้กระทำการแจ้งอย่างเป็นทางการแก่รัฐบาลไทย อันถือเป็นการละเมิดอธิปไตยของไทย ในวันที่ [[17 พฤษภาคม]] ได้มีกลุ่มนักศึกษาและประชาชนจำนวน 10,000 คน และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เป็น 30,000 คน นำโดย นาย[[ธีรยุทธ บุญมี]] ทำการประท้วง ที่หน้า[[สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย]] [[ถนนวิทยุ]] อย่างรุนแรง โดยประณามการกระทำของสหรัฐอเมริกา ว่าเป็น[[จักรวรรดินิยม]]อเมริกัน ที่คุกคามภูมิภาคแถบนี้ ซึ่งก่อนหน้านั้นได้มีการชุมนุมลักษณะเช่นนี้และมีความพยายามเคลื่อนไหวที่จะให้มีการถอนกำลังทหารของสหรัฐอเมริกาออกจากประเทศไทยมาแล้ว โดยรัฐบาลไทยได้ขีดเส้นตายว่า สหรัฐอเมริกาต้องถอนกำลังทหารออกจากประเทศไทยให้หมดภายใน 18 เดือน และการชุมนุมประท้วงครั้งนี้นับว่าเป็นการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนครั้งใหญ่ที่สุดหลังจาก[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] เมื่อ[[พ.ศ. 2516| 2 ปีก่อน]]
 
รัฐบาลไทย โดย [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ได้กระทำการตอบโต้สหรัฐอเมริกา ด้วยการขอให้ทางการสหรัฐฯสหรัฐทำหนังสือขอโทษมาอย่างเป็นทางการ และจะมีการพิจารณาทบทวนข้อตกลงต่าง ๆ ระหว่างกัน และ พลตรี [[ชาติชาย ชุณหะวัณ]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีคำสั่งเรียกตัว นาย[[อานันท์ ปันยารชุน]] เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศสหรัฐอเมริกา กลับด่วน
 
ที่สุดเหตุการณ์จบลงในวันที่ [[19 พฤษภาคม]] หลังจากการชุมนุมยืดเยื้อนานถึง 3 วัน เมื่ออุปทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยได้ส่งสาสน์แสดงความเสียใจต่อการกระทำดังกล่าว ต่อมา ในเดือน[[ธันวาคม]] ปีเดียวกัน [[เครื่องบินรบ]]รุ่น [[เอฟ-4 แฟนทอม 2|Fเอฟ-4]] ลำสุดท้ายก็ได้บินออกจากสนามบินกองทัพอากาศอุดรธานี ถือเป็นการปิดฉากการประจำการทางทหารของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยอย่างเด็ดขาด<ref>กระแสต้าน "จักรวรรดินิยมอเมริกัน" ''นักศึกษาชุมนุมประท้วงการใช้ฐานทัพอากาศในไทย โดยไม่ขออนุญาต'' หน้า 149, ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] ISBN 978-974-228-070-3</ref> <ref>Walter LaFeber, ''America, Russia, and the Cold War, 1945-1990'', (McGraw - Hill, Inc., 1991), pp. 281 – 282.</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Mayaguez incident}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.kohtang.com Koh Tang Beach Vets/ เว็บไซต์สีหนุวิลล์ "กรณีมายาเกซ" {{en}}]
 
{{Coord|10|18|7|N|103|8|3|E|type:isle|display=title}}
[[หมวดหมู่:สงครามเวียดนาม]][[หมวดหมู่:ปฏิบัติการทางทหาร]][[หมวดหมู่:พ.ศ. 2518]]