ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 59:
 
 
==แกนแม่เหล็ก==
==หลักการทั่วไป==
 
ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นจำนวนมากมีแกนเป็นแม่เหล็ก, หรือชิ้นส่วนของวัสดุ ferromagnetic เช่นเหล็ก ในใจกลางของมันเพื่อเพิ่มสนามแม่เหล็ก<ref name="Laplante1">{{cite book
[[ไฟล์:Transformer-hightolow smaller.jpg|thumb|ขดลวดจะจัดแบบศูนย์กลางเพื่อลดการรั่วไหลของสนามแม่เหล็ก]]
| last = Laplante
วัสดุที่ใช้เป็นขดลวดตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับการนำไปประยุกต์ใช้ แต่ในทุกกรณีในแต่ละรอบที่พันจะต้องทำให้เป็นฉนวนไฟฟ้าออกจากกันเพื่อให้แน่ใจว่ากระแสจะไหลในทุกรอบของขดลวด. สำหรับกำลังไฟฟ้าขนาดเล็กและการใช้ในงานสัญญาณที่ซึ่งกระแสที่ใช้มีค่าต่ำและความต่างศักย์ระหว่างรอบที่อยู่ติดกันมีขนาดเล็ก ขดลวดที่พันมักจะทำจากลวดแม่เหล็กเคลือบเช่นลวด Formvar หม้อแปลงไฟฟ้​​าขนาดใหญ่ในการทำงานที่แรงดันไฟฟ้าสูงอาจจะพันด้วยแถบตัวนำทองแดงสี่เหลี่ยมฉนวนกระดาษชุ่มน้ำมันและบล็อกของ pressboard.
| first = Phillip A.
| title = Comprehensive Dictionary of Electrical Engineering
| publisher = Springer
| year = 1999
| location =
| page = 143
| url = http://books.google.com/books?id=soSsLATmZnkC&pg=PA143&dq=core
| doi =
| id =
| isbn = 3540648356}}</ref> กระแสผ่านขดลวดจะทำให้วัสดุนั้นเป็นแม่เหล็กและสนาม แม่เหล็กที่เกิดจากวัสดุนั้นจะผสมไปกับสนามแม่เหล็กที่ผลิตโดยขดลวด ขดลวดนี้จะถูกเรียกว่า '''คอยล์แกน ferromagnetic''' หรือ '''คอยล์แกนเหล็ก'''<ref>[http://books.google.com/books?id=soSsLATmZnkC&pg=PA346&dq=iron+core Laplante 1999, p. 346]</ref> แกน ferromagnetic สามารถเพิ่มสนามแม่เหล็กของขดลวดได้หลายร้อยหรือหลายพันเท่ามากกว่าถ้ามันไม่มีแกน '''คอยล์แกนเฟอร์ไรต์'''เป็นความหลากหลายของคอยล์ที่มีแกนกลางทำจากเฟอร์ไรต์ซึ่งเป็นสารประกอบเซรามิก ferrimagnetic<ref>[http://books.google.com/books?id=soSsLATmZnkC&pg=PA243&dq=ferrite+core Laplante 1999, p. 243]</ref> ขดลวดเฟอร์ไรท์มีความสูญเสียต่ำที่ความถี่สูง
 
คอยล์ที่ไม่มีแกน ferromagnetic เรียกว่า'''คอยล์แกนอากาศ'''<ref>[http://books.google.com/books?id=soSsLATmZnkC&pg=PA19&dq=air+core Laplante 1999, p. 19]</ref> ซึ่งรวมถึงคอยล์ที่พันบนพลาสติกหรือรูปแบบที่ไม่ใช่สารแม่เหล็กอื่นๆ, เช่นเดียวกับคอยล์ที่จริงๆแล้วมีช่องอากาศอยู่ภายในขดลวดของมัน
 
==ชนิดของขดลวด==
 
ขดลวดสามารถถูกจำแนกตามความถี่ของกระแสไฟฟ้าที่มันถูกออกแบบมาเพื่อทำงานด้วย ได้แก่:
*ขดลวด DC ที่ทำงานด้วยกระแสตรงคงที่ในขดลวดของมัน
*ขดลวดความถี่เสียงออดิโอ (AF) ตัวเหนี่ยวนำหรือหม้อแปลงที่ทำงานกับกระแสสลับในช่วงความถี่เสียงที่น้อยกว่า 20 กิโลเฮิร์ทซ์
*ขดลวดความถี่วิทยุ (RF) ตัวเหนี่ยวนำหรือหม้อแปลงที่ทำงานกับกระแสสลับในช่วงความถี่วิทยุ ที่สูงกว่า 20 กิโลเฮิร์ทซ์
 
ขดลวดก็สามารถถูกจำแนกตามฟังก์ชั่นของมัน ได้แก่
[[File:Stator eines Universalmotor.JPG|thumb|ขดลวดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าบนสเตเตอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำกระแสสลับ]]
===ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า===
บทความหลัก: แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นขดลวดที่สร้างสนามแม่เหล็กสำหรับงานภายนอกบางอย่าง, มักจะใช้กับกลไกเพื่อบังคับให้ทำอะไรบางอย่าง<ref>[http://books.google.com/books?id=lROa-MpIrucC&pg=PA113&dq=electromagnet Newnes 2002, p. 113]</ref> ประเภทที่ค่อนข้างชัดเจนได้แก่
:*โซลินอยด์ - ใช้เพื่อเปิดปิดวาวล์ ที่รู้จักดีได้แก่โซลินอยด์วาวล์, นูเมติกวาวล์, ไฮโดรลิกวาวล์เป็นต้น
:*ขดลวดมอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า - แม่เหล็กไฟฟ้าแกนเหล็กบนโรเตอร์หรือสเตเตอร์ของ มอเตอร์ไฟฟ้าและเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ที่ทำหน้าที่หมุนเพลา(มอเตอร์) หรือสร้างกระแสไฟฟ้า(เครื่องกำเนิดไฟฟ้า)
:**ขดลวดสนาม - ขดลวดแกนเหล็กซึ่งจะสร้างสนามแม่เหล็กที่มีอย่างต่อเนื่องเพื่อจะกระทำบนขดลวดอาเมเจอร์
:**ขดลวดอาเมเจอร์ - ขดลวดแกนเหล็กที่ถูกกระทำโดยสนามแม่เหล็กของขดลวดสนามเพื่อสร้างแรงบิด (มอเตอร์) หรือเหนี่ยวนำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าเพื่อผลิตกำลังไฟฟ้า(เครื่องกำเนิดไฟฟ้า)
:*ขดลวด Helmholtz, ขดลวด Maxwell - ขดลวดแกนอากาศที่ให้บริการในการหักล้างสนามแม่เหล็กภายนอกเช่นสนามแม่เหล็กโลก
:*ขดลวด degaussing - ขดลวดที่ใช้ในการล้างอำนาจแม่เหล็กในชิ้นส่วน
:*วอยซ์คอยล์ - ขดลวดที่ใช้ใน moving-coil ของลำโพง, ถูกแขวนระหว่างขั้วของแม่เหล็ก เมื่อสัญญาณเสียงถูกส่งผ่านขดลวด มันจะสั่นซึ่งเป็นการขยับกรวยลำโพงที่ติดอยู่ด้วยกันเพื่อสร้าง คลื่นเสียง
 
===ตัวเหนี่ยวนำ===
บทความหลัก: [[ตัวเหนี่ยวนำ]]
 
ตัวเหนี่ยวนำหรือ reactor มีขดลวดที่สร้างสนามแม่เหล็กซึ่งจะปฏิสัมพันธ์กับขดลวดตัวมันเองที่ เหนี่ยวนำเกิด back EMF ซึ่งต่อต้านกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสในขดลวด ตัวเหนี่ยวนำถูกใช้เป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้าในการจัดเก็บพลังงานชั่วคราวหรือต่อต้านการเปลี่ยนแปลงกระแส มีไม่กี่ประเภทดังนี้
:*คอยล์ถัง - ตัวเหนี่ยวนำที่ใช้ในวงจรการจูน
:*โช๊ค - ตัวเหนี่ยวนำใช้เพื่อกั้น AC ความถี่สูงในขณะที่ยอมให้ AC ความถี่ต่ำผ่านได้
:*คอยล์โหลด - ตัวเหนี่ยวนำที่ใช้เพื่อเพิ่มการเหนี่ยวนำของเสาอากาศเพื่อให้มันเรโซแนนท์, หรือเพื่อให้กับสายเคเบิลเพื่อป้องกันการบิดเบือนของสัญญาณ
:*Variometer - ตัวเหนี่ยวนำปรับได้ ประกอบด้วยสองขดลวดต่ออนุกรมกัน, ขดลวดอยู่กับที่ด้านนอกและขดลวดที่สองอยู่ข้างในซึ่งสามารถหมุนเพื่อให้แกนหมุนแม่เหล็กของพวกมันมีทิศทางเดียวกันหรือตรงกันข้าม
:*หม้อแปลง flyback - แม้ว่าจะถูกเรียกว่าหม้อแปลง จริงๆแล้วมันเป็นตัวเหนี่ยวนำที่ทำหน้าที่ จัดเก็บพลังงานใน[[แหล่งจ่ายไฟ]]แบบสวิตชิ่งและวงจรกวาดแนวนอนของ CRT ในโทรทัศน์และจอมอนิเตอร์
[[File:Magnetic amplifier.svg|thumb|reactor แบบอิ่มตัวได้ ในหลักการ กระแส AC ผ่านหลอดไฟ L สามารถถูกควบคุมโดยการอิ่มตัวของแกนเหล็กด้วยกระแสตรงที่ถูกควบคุมโดยตัวต้านทานปรับได้ R แบตเตอรี B และ AC source G]]
:*reactor แบบอิ่มตัวได้ - ตัวเหนี่ยวนำแกนเหล็กที่ใช้ควบคุมกำลังไฟ AC โดยการปรับความอิ่มตัวของแกนด้วยการใช้แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงในขดลวดสำรอง
:*บัลลาสต์เหนี่ยวนำ - ตัวเหนี่ยวนำที่ใช้ในวงจรหลอดไฟดีสชาร์จก๊าซ เช่นหลอดฟลูโอเรสเซนท์, เพื่อจำกัดกระแสผ่านหลอดไฟ
 
===หม้อแปลง===
 
==ผลของความถี่==