ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริมาตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
WindowMaker (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มลิงก์ไปยัง ถ้วยตวง (หน่วย)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Simple Measuring Cup.jpg|thumb|right|[[ถ้วยตวง]]สามารถใช้วัดปริมาตรของของเหลวได้ ถ้วยตวงถ้วยนี้มีหน่วยกำกับเป็น[[ถ้วยตวง (หน่วยวัด)|ถ้วยตวง]] [[ออนซ์ (หน่วยปริมาตร)|ออนซ์]] และ[[มิลลิลิตร]]]]
'''ปริมาตร''' หมายถึงความมากน้อยใน[[ปริภูมิ]][[สามมิติ]]ซึ่ง[[วัสดุ]]ชนิดหนึ่งในสถานะใด ๆ ([[ของแข็ง]] [[ของเหลว]] [[แก๊ส]] หรือ[[พลาสมา]]) หรือ[[รูปทรง]]ชนิดหนึ่งยึดถืออยู่หรือบรรจุอยู่ <ref>{{cite web |url=http://www.yourdictionary.com/volume |title= Your Dictionary entry for "volume" |accessdate=2010-05-01}}</ref> บ่อยครั้งที่ปริมาตรระบุปริมาณเป็นตัวเลขโดยใช้หน่วยกำกับ เช่น[[ลูกบาศก์เมตร]]ซึ่งเป็น[[หน่วยอนุพันธ์เอสไอ]] นอกจากนี้ยังเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่า ปริมาตรของ[[ภาชนะ]]คือ '''ความจุ''' ของภาชนะ เช่นปริมาณของ[[ของไหล]] (ของเหลวหรือแก๊ส) ที่ภาชนะนั้นสามารถบรรจุได้ มากกว่าจะหมายถึงปริมาณเนื้อวัสดุของภาชนะ
 
บรรทัด 33:
::1 มิลลิลิตร = 0.001 ลิตร = 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร
 
หน่วยวัดปริมาตรแบบดั้งเดิมอื่น ๆ ที่มีหลากหลายก็เป็นที่นิยมเช่นกัน เช่น [[ลูกบาศก์นิ้ว]] [[ลูกบาศก์ฟุต]] [[ลูกบาศก์ไมล์]] [[ช้อนชา]] [[ช้อนโต๊ะ]] [[ถ้วยตวง (หน่วยวัด)|ถ้วยตวง]] [[ออนซ์]] [[แดรม]] [[กิลล์]] [[ไพนต์]] [[ควอร์ต]] [[แกลลอน]] [[มินิม]] [[บาร์เรล]] [[คอร์ด]] [[เพก]] [[บุเชิล]] [[ฮอกสเฮด]] ฯลฯ ส่วนหน่วยวัดไทยดั้งเดิมก็มีอย่างเช่น ถัง (20 ลิตร) บั้น เกวียน เป็นต้น
 
== คำที่เกี่ยวข้อง ==