ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหรียญของแครอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Image:Luca Giordano 009.jpg|thumb|260px |เคอเรินแครอนนำวิญญาณข้าม[[River Acheron|แม่น้ำอเคอเรินแอเคอรอน]]จากมนุษยโลกไปยังยมโลก โดย ลูคาลูกา จอร์ดาโน]]
'''เหรียญเคอเรินแครอน''' ({{lang-en|Charon's obol}}) หมายถึงเหรียญที่ใส่ในปากหรือบนปาก<ref>Neither ancient literary sources nor archaeological finds indicate that the ritual of Charon's obol explains the modern-era custom of placing a pair of coins on the eyes of the deceased, nor is the single coin said to have been placed specifically ''sub lingua''. See "Coins on the eyes?".</ref> ของผู้ตายก่อนที่จะทำการฝัง
 
ประเพณีนี้มักจะเกี่ยวข้องกับประเพณี[[กรีกโบราณ|กรีก]] และ [[โรมันโบราณ]] แต่ก็พบว่าทำกันใน[[ตะวันออกใกล้]]ด้วย และต่อมาใน[[ยุโรปตะวันตก]] โดยเฉพาะในบริเวณที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของ[[เคลต์]]ของวัฒนธรรม[[Gallo-Roman culture|กอล-โรมัน]], [[ฮิสปาเนียสเปเนีย|ฮิสปาเนียสเปเนีย-โรมัน]] และ [[โรมันบริเตน]] และใน[[กลุ่มชนเจอร์มานิคเจอร์แมนิก]]ของปลาย[[ยุคโบราณตอนปลาย]] และในสมัยคริสเตียนตอนต้น และมีปฏิบัติกันอยู่บ้างมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในวรรณกรรมภาษากรีกโบราณ และ ภาษาลาตินของตั้งแต่ศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 2 กล่าวกันว่าเหรียญเคอเรินแครอนใช้เป็นค่าโดยสารหรือค่าติดสินบนสำหรับ[[เคอเรินแครอน]]คนพายเรือของ[[เฮดีส]]ผู้มีหน้าที่นำวิญญาณของผู้ที่เพิ่งเสียชีวิตข้าม[[River Acheron|แม่น้ำอเคอเรินแอเคอรอน]]จากมนุษยโลกไปยังยมโลก
 
หลักฐานทางโบราณคดีชี้ให้เห็นว่าตำนานสะท้อนไปถึงวัฒนธรรมที่ปฏิบัติกันจริง และไม่แต่จะจำกัดอยู่เพียงใส่เหรียญเพียงเหรียญเดียวในปากเท่านั้น<ref>Gregory Grabka, "Christian [[Viaticum]]: A Study of Its Cultural Background," ''Traditio'' 9 (1953), 1–43, especially p. 8; Susan T. Stevens, "Charon’s Obol and Other Coins in Ancient Funerary Practice," ''Phoenix'' 45 (1991) 215–229.</ref> นอกจากนั้นก็ยังมีประเพณีการให้เหรียญหรือเงินจำนวนมากเช่นที่ทำกันใน[[ship burial|การฝังผู้ตายพร้อมกับเรือ]]ซึ่งก็ตรงกับอุปมาของความคิดดังกล่าว<ref>Discussed under "[[Charon's obol#Archaeological evidence|Archaeological evidence]]".</ref>
 
คำว่า "เหรียญเคอเริน”แครอน" ที่ใช้โดยนักโบราณคดีบางครั้งก็อาจจะหมายความถึงประเพณีทางศาสนาอย่างใดอย่างหนึ่งแต่มักจะมีนัยยะถึงเงินที่ใช้โดยผู้ตายในยมโลกหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้ว<ref>Ian Morris, ''Death-ritual and Social Structure in Classical Antiquity'' (Cambridge University Press, 1992), [http://books.google.com/books?id=oMGiB3RV__EC&printsec=frontcover&dq=intitle:Death-Ritual+intitle:and+intitle:Social+intitle:Structure+inauthor:Ian+inauthor:Morris&lr=&as_brr=3&sig=ACfU3U2BDtFka1k-m-b9FvdwWBmR4lN3-w#PPA107,M1 p. 106], noting in his skeptical discussion of "Who Pays the Ferryman?" that "coins may have paid the ferryman, but that is not all that they did." See also Keld Grinder-Hansen, "Charon’s Fee in Ancient Greece?" ''Acta Hyperborea'' 3 (1991), p. 215, who goes so far as to assert that "there is very little evidence in favour of a connection between the Charon myth and the death-coin practice," but the point is primarily that the term "Charon’s obol”obol" belongs to the discourse of myth and literature rather than the discipline of archaeology.</ref> ใน[[ภาษาลาติน]]เหรียญเคอเรินแครอนบางครั้งก็เรียกว่า “viaticum”"viaticum" หรือ "sustenance for the journey”journey" บางครั้งก็จะให้คำอธิบายว่าการใส่เหรียญในปากผู้ตายเป็นการป้องกันไม่ให้วิญญาณของผู้ตายกลับมาอีกได้
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 12:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[เคอเรินแครอน]]
 
[[หมวดหมู่:ประเพณีเกี่ยวกับความตาย]]