ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 12:
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์คาลาคาอัว|คาลาคาอัว]]
| ทรงราชย์ = 12 กุมภาพันธ์ 1874 - 20 มกราคม 1891
| พิธีบรมราชาภิเษก = 12 กุมภาพันธ์ 1883
| ระยะเวลาครองราชย์ = 17 ปี
| รัชกาลก่อนหน้า = [[พระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย]]
| รัชกาลถัดมา = [[สมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย]]
| signature = Kalakaua R 1875 signature.svg
|}}
 
'''พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย''' ({{lang-en|Kalākaua}}) หรือ '''สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาอัว''' ({{lang-haw|David La{{Okina}}amea Kamanakapu{{Okina}}u Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua}})<ref name="KAUAI">{{cite web |url= http://www.royalark.net/Hawaii/kauai.htm |title=Kauai Genealogy |author=Christopher Buyers |accessdate=February 30, 2010 |work= Royal Ark web site }}</ref> ทรงเป็น[[พระมหากษัตริย์]]พระองค์ที่ 7 แห่ง[[ราชอาณาจักรฮาวาย]] ต่อจาก[[พระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย]] พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกใน[[ราชวงศ์คาลาคาอัว]]และถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch
 
== พระราชประวัติ ==
พระเจ้าคาลาคาอัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 1836 ที่เมือง[[โฮโนลูลู]] [[ราชอาณาจักรฮาวาย]] ทรงเป็นโอรสใน[[คาเอซาร์ คาปาเคอา]]กับ[[อานาเลอา เคโอโฮคาโลเล]] ทรงมีพี่พระอนุชาและพระขนิษฐภคนีทั้งสิ้น 7 พระองค์ ได้แก่ โมเสส [[คาลีโอคาลานี]] [[สมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย]] [[แอนนา คาอีอูลานี]] [[เจ้าหญิงไคมีนาอาอูอาโอ]] คีนีนี [[เจ้าหญิงลีเกลีเก]]และ[[เจ้าชายเลเลอีโอโฮกูที่ 2]]<ref name="KAUAI"/> พระนาม '''คาลาคาอัว''' ของพระองค์มีความหมายถึงวันแห่งสงคราม ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับวันที่[[สหราชอาณาจักร]]และ[[ราชอาณาจักรฮาวาย]]ในรัชสมัยของ[[พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวาย]]ได้ลงนามในสนธิสัญญาซึ่งไม่เป็นธรรมในวันที่พระองค์เสด็จพระราชสมภพ<ref name="Schweizer">{{cite book |title= Turning tide: the ebb and flow of Hawaiian nationality |year= 2005 |publisher= Peter Lang |author=Niklaus Rudolf Schweizer | isbn= 0-8204-7030-9 | page= 249 |url= http://books.google.com/books?id=Z2HXdUjKkjgC }}</ref><ref>{{cite book |title= Treaties and conventions concluded between the Hawaiian Kingdom and other powers, since 1825 |year= 1875 |publisher= Pacific Commercial Advertiser Print |author=Kingdom of Hawaii | isbn= | page= vii |url= http://books.google.com/books?id=iHpd6lCn33IC }}</ref> ถึงแม้ว่าในระยะแรกพระองค์ได้ถูกกำหนดให้เป็นบุครบุญธรรมของ[[คูอีนี ลีลีฮา]] ผู้ว่าราชการโออาฮู แต่[[เจ้าหญิงคีอานู]]กลับส่งพระองค์ให้ไปเป็นบุครบุญธรรมของฮาอะเฮโอ คานูอีและสามีของนางคือเคอาเวอามาฮี คีนามากาแทน<ref name="Kalakaua2"/> ฮาอะเฮโอมารดาบุญธรรมของพระองค์เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1843 โดยทำพินัยกรรมยกสมบัติทั้งหมดของนางให้แก่พระองค์<ref>{{cite book |author=[[Supreme Court of Hawaii]] |title = Reports of a portion of the decisions rendered by the Supreme Court of the Hawaiian Islands in law, equity, admiralty, and probate |publisher =Govt. Press |year = 1866 |url = http://books.google.com/?id=6ckDAAAAYAAJ&dq=Kinimaka |pages=82–86 }}</ref> หลังจากมารดาบุญธรรมของพระองค์เสียชีวิต สิทธิ์ในการเลี้ยงดูจึงตกอยู่กับบิดาบุญธรรมของพระองค์ ซึ่งเป็นหัวหน้าระดับล่าง ต่อมาบิดาบุญธรรมได้แต่งงานกับไป หญิงชาวตาฮีติ ซึ่งได้เลี้ยงดูพระองค์เสมือนบุตรของตนเอง<ref name="Kalakaua2">{{cite web |author= Darlene E. Kelley |title= Kalakaua Part 2 |work = Keepers of the Culture: A study in time of the Hawaiian Islands As told by the ancients |url= http://files.usgwarchives.net/hi/keepers/koc62.txt |date= January 1, 2001 |accessdate=January 28, 2010 }}</ref><ref name="Dibble">{{cite book |author=[[Sheldon Dibble]] |title= History of the Sandwich Islands |publisher= Press of the Mission Seminary |year= 1843 |location= Lahainaluna |url= http://books.google.com/books?id=EwqpkYKuXSMC |page=330 }}</ref>
 
เมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้ 4 พรรษา พระองค์ได้กลับไปอาศัยอยู่ที่[[โออาฮู]]กับพระบิดาและพระมารดาที่แท้จริง พระองค์ได้เข้าศึกษาต่อในโรงเรียนสำหรับชนชั้นสูงของฮาวาย ในขณะที่กำลังศึกษาอยู่นั้นพระองค์สามารถตรัสได้ทั้ง[[ภาษาฮาวาย]]และ[[ภาษาอังกฤษ]]อย่างคล่องแคล่ว เมื่อพระองค์มีพระชนมายุ 16 พรรษา พระองค์เริ่มศึกษา[[กฎหมาย]] แต่ด้วยภาระหน้าที่ของพระองค์ในรัฐบาลมีมากทำให้พระองค์ไม่มีโอกาสสำเร็จการศึกษาทางด้านกฎหมาย ในปี ค.ศ. 1863 พระองค์ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานทางด้านการไปรษณีย์
== การเลือกตั้งพระมหากษัตริย์ ค.ศ. 1872 ==
[[พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 5 แห่งฮาวาย]] พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของ[[ราชวงศ์คาเมฮาเมฮา]]เสด็จสวรรคตในวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1872 โดยไม่ได้แต่งตั้งรัชทายาทในการขึ้นครองราชบัลลังก์ต่อจาพระองค์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรฮาวายได้กำหนดไว้ว่าหากพระมหากษัตริย์มิได้แต่งตั้งผู้ใดเป็นรัชทายาท พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะมาจากการเลือกตั้งในรัฐสภา
 
บรรทัด 45:
คาลาคาอัวมีความที่เป็น[[อนุรักษ์นิยม]]มากกว่าลูนาลีโล ในระหว่างนั้นชาวต่างชาติมีบทบาทสำคัญในการควบคุมรัฐบาลฮาวาย คาลาคาอัวให้สัญญาว่าจะให้ชาวพื้นเมืองเข้ามามีบทบาทในการบริหารราชการแผ่นดิน รวมถึงแก้ไขรัฐธรรมนูญ ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1873 ประชาชนลงคะแนนเลือกลูนาลีโลด้วยคะแนนเสียงส่วนใหญ่ และในวันต่อมารัฐสภาเห็นชอบ ลูนาลีโลขึ้นเสวยราชสมับติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะฮาวาย
 
== เหตุการณ์ในรัชสมัย ==
[[ไฟล์:Kalakaua journey round the world.jpg|200px|thumbnail|เส้นทางการเดินทางของพระเจ้าคาลาคาอัว]]
เมื่อ[[พระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย]] เสด็จสวรรคตอย่างกะทันหัน โดนไม่ทรงมีรัชทายาท ทำให้เกิดปัญหาเรื่องผู้ที่จะสืบราชบัลลังก์ระหว่างพระองค์กับ[[สมเด็จพระราชินีเอ็มมาแห่งฮาวาย|สมเด็จพระราชินีเอ็มมา นาเอ รูก]] แต่ในที่สุดพระองค์ก็ได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ต่อไป ปัญหาการไม่มีรัชทายาทสืบราชบัลลังก์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตทำให้[[สถาบันพระมหากษัตริย์]]และพระราชวงศ์ไม่มั่นคง พระองค์จึงได้แต่งตั้ง[[เจ้าชายเลเลอีโอโฮกูที่ 2]]พระอนุชาของพระองค์ให้ทรงเป็นรัชทายาท เพื่อสร้างความมั่นคงให้สถาบันพระมหากษัตริย์
 
ในระยะแรกของการครองราชย์ของพระเจ้าคาลาคาอัว พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนเกาะต่องๆของราชอาณาจักรฮาวาย ซึ่งในท้ายที่สุดช่วยสร้างความนิยมของพระองค์ ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1874 พระองค์ส่งผู้แทนทางการทูตไป[[สหราัฐอสหราฐอเมริกา]] เพื่อเจรจาสนธิสัญญาที่จะช่วยกันลดความตึงเครียดลงในฮาวาย ในเดือนพฤศจิกายน พระเจ้าคาลาคาอัวเสด็จพระราชดำเนินเยือน[[วอชิงตัน ดี.ซี]]เพื่อเข้าพบประธานาธิบดี[[ยูลิสซิส เอส. แกรนท์]] ซึ่งนำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1875 โดยเนื้อหาในสนธิสัญญาจะอนุญาตให้ฮาวายสามารถส่งน้ำตาลและข้าวเข้าสหรัฐอเมริกาได้โดยไม่มีภาษี
 
ในช่วงแรกของรัชสมัย พระองค์ได้ใช้อำนาจสูงสุดเท่าที่พระองค์มีในการแต่งตั้งและถอดถอนคณะรัฐมนตรีบ่อยครั้ง โดยพระเจ้าคาลาคาอัวเชื่อว่าชนชั้นสูงมีสิทธิอันชอบธรรมในการปกครอง การกระทำเช่นนี้ของพระองค์ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์จากกลุ่มมิชชันนารีซึ่งต้องการเห็นการปฏิรูปการปกครองของฮาวาย โดยใช้พื้นฐาย[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]ของสหราชอาณาจักรซึ่งลดพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ กลุ่มคณะมิชชันนารีกลุ่มนี้ยังเชื่อว่าผู้ที่จะควบคุมคณะรัฐบาลควรเป็นรัฐสภาไม่ใช่พระมหากษัตริย์ การถอดถอนและแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้ดำเนินการต่อไปตลอดรัชสมัยของพระองค์
บรรทัด 55:
ในปี ค.ศ. 1881 พระองค์ก็ได้เสด็จเยือนประเทศต่างๆ เพื่อนำแนวทางมาพัฒนาฮาวาย พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและเรียนรู้วิธีการปกครองของแต่ละประเทศ เมื่อพระเจ้าคาลาคาอัวได้เสด็จออกจากฮาวาย พระองค์ได้มอบหมายให้[[สมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย|เจ้าฟ้าหญิงลีลีโอกาลานี]]เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (แทนเจ้าชายเลเลอีโอโฮกูที่ 2 ที่สิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1877) พระองค์เริ่มการเสด็จเยือนต่างประเทศของพระองค์ที่[[ซานฟรานซิสโก]]ซึ่งพระองค์ได้รับการต้อนรับที่ดี จากนั้นพระองค์เสด็จพระราชดำเนินเยือน[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]และเข้าพบ[[จักรพรรดิเมจิ]] หลังจากนั้นพระองค์ได้เสด็จเยือน[[จักรวรรดิชิง]] [[สยาม]]ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[พม่า]] [[บริติชราช]] [[อียิปต์]] [[อิตาลี]] [[เบลเยียม]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]] [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] [[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3]] [[สเปน]] [[โปรตุเกส]] [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์]] และเดินทางไปต่อที่[[สหรัฐอเมริกา]]เพื่อจะเดินทางกลับฮาวาย ในการเดินทางครั้งนี้ทำให้พระองค์มีโอกาสพบผู้นำประเทศหลายพระองค์ เช่น [[สมเด็จพระสันตะปาปาเลโอที่ 13]] [[พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี]] [[เตาฟิก ปาชา]] อุปราชแห่งอียิปต์ [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[เชสเตอร์ เอ. อาเทอร์]] ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาและ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] การเดินทางในครั้งนี้ส่งผลให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เดินทางรอบโลก<ref>[http://www.huapala.org/Ka_Momi.html Ka Momi]. Huapala.org. Retrieved on 2011-07-28.</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.kalakauamiddle.org/about/david_kalakaua.jsp|title=KING KALAKAUA|publisher=Kalakaua Middle School|date=10 December 2013}}</ref>วิลเลียม อาร์มสตรองได้เขียนบันทึกการเดินทางในครั้งนี้ไว้ในหนังสือ ''Around the World With a King''<ref>{{cite news|journal=Editorial Reviews|title=About the Author: William N. Armstrong (Hardcover edition)|publisher=Amazon.com|date=May 1995|isbn=1-56647-017-X|edition=Mass Market Paperback|author=William N. Armstrong}}</ref><ref>{{cite book|authors=Armstrong, William N. and [[Glen Grant (historian)|Grant, Glen]] |title=Around the World With a King|publisher=Mutual Pub Co|date=May 1995|isbn=1-56647-017-X}}</ref>
 
== การสวรรคต ==
ในปี 1890 พระพลานามัยของพระองค์เริ่มแย่ลง พระองค์จึงเดินทางไปรักษาที่[[ซานฟรานซิสโก]]ตามคำแนะนำของแพทย์ และเสด็จสวรรคตที่นั่นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 1891 [[สมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย|เจ้าฟ้าหญิงลีลีโอกาลานี]] พระขนิษฐาของพระองค์จึงได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์
 
บรรทัด 62:
<center>
{{ahnentafel-compact5
| style = font-size: 90%; line-height: 110%;
| border = 1
| boxstyle = padding-top: 0; padding-bottom: 0;
| boxstyle_1 = background-color: #fcc;
| boxstyle_2 = background-color: #fb9;
| boxstyle_3 = background-color: #ffc;
| boxstyle_4 = background-color: #bfc;
| boxstyle_5 = background-color: #9fe;
| 1 = 1. '''พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย'''
| 2 = 2. [[คาเอซาร์ คาปาเคอา]]
| 3 = 3. [[อานาเลอา เคโอโฮคาโลเล]]
| 4 = 4. [[คามานาวาที่ 2]]
| 5 = 5. [[คาโมคูอิคิ]]
| 6 = 6. [[อาอิคานาคา]]
| 7 = 7. คามาเอโอคาลานี่
| 8 = 8. [[เคปูคาลานี่]]
| 9 = 9. [[อลาปาอิวาฮิเน]]
| 10 = 10. คาเนปาวาเล
| 11 = 11. อูอาอูอา
| 12 = 12. [[เคปูคาลานี่]]
| 13 = 13. [[เคโอโฮฮิวา]]
| 14 = 14. มาลาเออากินี่
| 15 = 15. คาอูฮิโนคาคา
| 16 = 16. [[คาเมเออิอาโมกู]]
| 17 = 17. คามาคาเอเฮอิคูลี
| 18 = 18. [[คาลานินูอิอามามาโอ]]
| 19 = 19. คาโอลานิอาลิอิ
| 20 = 20. คาลิโลอาโมกู
| 21 = 21. คาฮูนา
| 22 = 22. อาฮูนูลาคาโลเว
| 23 = 23. คาลิโออาโมคู
| 24 = 24. [[คาเมเออิอาโมกู]]
| 25 = 25. คามาคาเอเฮอิคูลี
| 26 = 26. [[เคอาวา อา เฮอูลู]]
| 27 = 27. [[อูลูลานี่]]
| 28 = 28. คาโออิโออา
| 29 = 29. เคโคฮิโมกู
| 30 = 30. คาโอ
| 31 = 31. อาวิลี
}}</center>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons category|Kalākaua}}
* [http://www.ukulele.org/?Inductees:1997-1998:David_Kalakaua Ukulele Hall Of Fame Museum – David Kalakaua]
* [http://the.honoluluadvertiser.com/150/sesq1kalakaua The Honolulu Advertiser Kalakaua]
* [http://www.hawaiimusicmuseum.org/honorees/patrons/kalakaua.html Royal Four Kalakaua]
* [http://www.kalakauamiddle.org/ Kalakaua Middle School]