ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หง ซิ่วเฉฺวียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
จนกระทั่งสามารถตีนคร[[นานกิง|หนานจิง]] ตั้งเป็นเมืองหลวงใช้ชื่อว่า " เทียนจิง " (เมืองสวรรค์) ตั้งสหายร่วมรบคนอื่น ๆ เป็น " หวาง " (อ๋อง) มากมายหลายคน แล้วหงซิ่วฉวนก็วางมือ ไม่ค่อยยุ่งกับการบริหารดูแลบ้านเมือง ปล่อยให้หวางคนอื่น ๆ รับหน้าที่บริหาร ซึ่งเป็นจุดพลิกผันที่ทำให้กบฏไท่ผิงต้องล้มสลายในที่สุด เนื่องจากบรรดาหวางทั้งหลายชิงดีชิงเด่นกัน ต่างคนก็พยายามช่วงชิงผลประโยชน์ส่วนตัวให้ได้มากที่สุดและหนักสุดถึงขนาดฆ่ากันเอง ในขณะที่ตัวผู้นำคือ หงซิ่วฉวน ก็ได้วางมือเร็วไปก่อนเวลา ท้ายสุดในปี [[พ.ศ. 2407]] กบฏไท่ผิงก็ถึงจุดล่มสลายเมื่อพ่ายแพ้อย่างราบคาบต่อราชสำนักที่ผสมกำลังปราบปรามร่วมกับกำลังของชาติตะวันตกที่มีผลประโยชน์กับจีน เช่น อังกฤษ, [[ฝรั่งเศส]] และหงซิ่วฉวนได้ฆ่าตัวตาย มีกบฏล้มตายเป็นจำนวนถึง 30 ล้านคน
ในช่วงปี พ.ศ. 2393 ถึง [[พ.ศ. 2399]] นับเป็นช่วงรุ่งโรจน์ที่สุดของกลุ่มกบฏไท่ผิง นอกจากยึดนานกิงเป็นศูนย์กลางอำนาจได้แล้ว ยังได้ครอบครองดินแดนทั้งหมดของมณฑล[[เจียงซี]] [[อันฮุย]] และส่วนใหญ่ของมณฑล[[หูเป่ย]]
ปัจจุบัน นักวิชาการร่วมสมัยวิเคราะห์ถึงการล่มสลายว่าเป็นเพราะกลุ่มกบฏซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวนา ไม่มีเจตจำนงทางอุดมการณ์หรืออุดมคติอย่างแท้จริง ส่วนใหญ่คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัวเท่านั้น และเมื่อได้ผลประโยชน์แล้วแนวทางที่ดำเนินการอยู่ก็ได้ล้มเลิกไป