ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนิจิเร็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:พระสงฆ์ญี่ปุ่น ไปยัง หมวดหมู่:ภิกษุชาวญี่ปุ่น
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||นิกายหนึ่งในพุทธศาสนา|นิชิเรนเร็ง}}
[[ไฟล์:Nichiren statue Japan.jpg|thumb|right|อนุสาวรีย์พระนิชิเร็น ด้านนอกฮอนโนะจิ ใน อำเภอเทะระมะชิ [[กรุงเกียวโต]]]]
'''พระนิชิเร็นโชนินเร็ง''' ({{lang-ja|(日蓮)}}) หรือ '''พระนิชิเร็นไดโชนินเร็งไดโชนิน''' (สำหรับ[[นิชิเร็นโชชู]]) เป็นพระสงฆ์ชาว[[ภิกษุ]][[ชาวญี่ปุ่น]] เชื่อในซึ่งนิกาย[[นิชิเรนโชชูเร็งโชชู]]เชื่อว่าท่านเป็น[[พระพุทธเจ้า]]แท้จริง ท่านคือผู้สถาปนาและริเริ่มเผยแผ่คำสอน [[นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว]] บนพื้นฐานของ [[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]] อันเป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธนิกาย [[นิชิเรนเร็ง]] ซึ่งปัจจุบันได้แตกกิ่งก้านออกไปเป็นนิกายย่อยๆย่อย ๆ ประมาณ 32 นิกายในญี่ปุ่น และมีหลายลัทธิยืมคำสอนของท่านไปใช้ด้วย นิกายหลักๆหลัก ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ [[นิชิเรนโชชูเร็งโชชู]] และ [[นิชิเรนชูเร็งชู]] แต่นิกายแรกจะเป็นที่รู้จักมากกว่าเพราะมีสานุศิษย์กระจายอยู่ทั่วโลกแม้แต่ในเมืองไทย
 
ตลอดชีวิตของพระนิชิเรนฯเร็งฯ ท่านทุ่มเทเผยแผ่คำสอน โดยท่านเรียกร้องให้ชาวญี่ปุ่นละทิ้งคำสอนของนิกายและความเชื่อต่างๆต่าง ๆ หันมายึดมั่นใน''สัทธรรมปุณฑริกสูตร''แต่เพียง[[พระสูตร]]เดียว เพราะท่านกล่าวว่าเป็นพระสูตรที่สูงส่งที่สุดและเป็นเจตนาที่แท้จริงของ[[พระศากยมุนีพุทธเจ้า]] เมื่อทำเช่นนั้นแล้วจึงจะช่วยให้ประเทศญี่ปุ่นสงบสุข มั่นคง รอดพ้นจากปัญหานานาประการทั้งจากภัยธรรมชาติ ฤดูกาลแปรปรวน โรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำรุนแรง กบฏภายใน และภัยจาก[[จักรวรรดิมองโกล]] ซึ่งญี่ปุ่นกำลังเผชิญอยู่ในขณะนั้น
 
แต่หนทางในการเผยแผ่คำสอนของพระนิชิเรนฯH'ฯ ไม่เรียบง่าย บางครั้งถึงขั้นต้องแลกกับชีวิต ด้วยเหตุนี้วงการพุทธศาสนามหายานจึงสดุดีท่านว่า ''ผู้อุทิศชีวิตต่อสัทธรรมปุณฑริกสูตร''
 
== ภูมิหลัง ==
[[ไฟล์:Nichirendishonin.gif|thumb|left|พระนิชิเร็น]]
พระนิชิเรนฯH'เกิดในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1222 (พ.ศ. 1765) หรือปีที 1 แห่งสมัยโจโอ ในยามรุ่งอรุณ เป็นบุตรชาวประมง หมู่บ้านโตโจ ตำบลนางาสะ เมืองอาวะ (ปัจจุบันคือ[[จังหวัด ชิบะ]]) ประเทศญี่ปุ่น นามในวัยเด็กคือ'''เซ็นนิชิ มาโร''' นามพ่อคือมิคุนิ โนะ ไทฝุ ชิเงะทาดะ นามแม่คืออุเมะงิขุ
 
พระนิชิเรนฯเร็งออกจากบ้านเพื่อศึกษาเล่าเรียน ณ วัดเซอิโซจิเมื่ออายุได้ 12 ปี หลังรับการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วจึงบรรพชาเป็นภิกษุเมื่ออายุ 16 ปี และเปลี่ยนชื่อเป็น'''เซโชโบะ เร็นโช โดยมีพระอาจารย์นามโดเซ็นโบะคอยดูแลสั่งสอน และเพื่อหวังให้การศึกษาคำสอนศาสนาพุทธลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นท่านจึงเริ่มไปเยือนวัดและนิกายต่างๆ ในเมืองคามาคูระ เกียวโต นาราและภูเขาฮิเออิ
 
== สถาปนาคำสอน ==
พระนิชิเรนฯเร็งสถาปนาคำสอนเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1253 (พ.ศ. 1796) หรือปีที่ 5 แห่งสมัยเค็นโช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น '''นิชิเรน''' ขณะอายุได้ 32 ปี ซึ่ง''นิชิ''แปลว่าดวงอาทิตย์ ''เร็น''แปลว่าดอกบัว (แห่งสัทธรรมปุณฑริกสูตร)
 
ท่านเริ่มเทศนาประกาศคำสอนของท่านครั้งแรก ณ วัดเซอิโซจิ วัดที่ท่านได้รับการศึกษาในวัยเด็กนั่นเอง ท่านได้เริ่มประณามคำสอนนิกายต่างๆต่าง ๆ ต่อหน้าสาธารณชนเป็นครั้งแรกและอย่างต่อเนื่องด้วยการท้าพระสงฆ์ภิกษุในนิกายต่างๆ มาโต้วาทีธรรม ด้วยเหตุนี้จึงสร้างความไม่พอใจและถูกวิพากษ์วิจารณ์ในกลุ่มผู้นับถือนิกายเหล่านั้นเป็นอย่างมากและนับวันจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น
 
== การยื่นริชโชอันโกกุรอน ==
ในบรรดาบทธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเรนฯ เร็งบทธรรมนิพนธ์'''ริชโชอันโกกุรอน''' (การก่อตั้งคำสอนที่ถูกถ้วนแท้จริงเพื่อก่อเกิดประเทศสันติ) นับว่าโดดเด่นที่สุด ท่านยื่นหนังสือนี้ในวันที่ 16 กรกฎาคม 1260 ต่อรัฐบาลทหารคามาคูระภายใต้การบริหารของผู้สำเร็จราชการ'''โฮโจ โทกิโยริ'''ซึ่งปกครองญี่ปุ่นในขณะนั้น
ใจความหนังสือเสนอให้รัฐบาลและชาวญี่ปุ่นเลิกให้การสนับสนุนนับถือนิกายต่างๆ หันมานับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรแต่เพียงอย่างเดียวบ้านเมืองจึงจะสงบสุขพ้นหายนะ แต่ไม่ได้รับการสนใจจากรัฐบาลแม้ท่านจะยื่นหนังสือนี้ 3 ครั้งด้วยกัน จนทำให้ผู้นำประเทศหันมาปฏิบัติศรัทธาพุทธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนิน
 
บรรทัด 30:
* การประหารชีวิตและคุมขังกลุ่มชาวนาผู้นับถือที่[[อัตสึฮาระ]]
 
== การบรรลุะการบรรลุพุทธภาวะ ==
นิกาย[[นิชิเรนโชชูเร็งโชชู]] นั้นเชื่อว่า พระนิชิเรนนั้น เป็นพระพุทธสมัยธรรมปลาย (1500 ปีหลังจากที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน) เดิม โดยเชื่อว่า คำสอนของพระศากยมุนีพุทธเจ้าก่อนหน้าสัทธรรมปุณฑริกสูตร เป็นเพียงคำสอนชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งสัทธรรมปุณฑริกสูตรถูกเทศนาก่อนที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน 8 ปี
 
== แต่งตั้งพระสงฆ์อาวุโส 6 รูป ==
บรรทัด 72:
{{เทพในคติพุทธศาสนาแบบญี่ปุ่น}}
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธมหายาน]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุชาวญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายนิชิเร็ง]]