ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรเบิร์ต กัมปิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:โรแบร์ต แคมแพง ไปยัง หมวดหมู่:โรเบิร์ต กัมปิน
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=200px}}
[[ไฟล์:CampinVeronica.jpg|thumb|200px|แผ่นภาพ “Flemalle”"Flemalle" ส่วนหนึ่ง]]
[[ไฟล์:Robert Campin 015.jpg|thumb|right|220px|งานที่มักจะสันนิษฐานว่าเขียนโดยแคมแพงกัมปิน บานภาพนี้เป็นบานทางขวาของบานพับภาพเวิร์ล (Werl triptych) ที่เขียนเมื่อ ค.ศ. 1438 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑสถานปราโด, [[ประเทศสเปน]]]]
'''โรแบร์ตโรเบิร์ต แคมแพงกัมปิน''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: {{lang-nl|Robert Campin)}}; (ราว ค.ศ. 1375 - 26 เมษายน ค.ศ. 1444) เป็น[[จิตรกรยุคสมัยเนเธอร์แลนด์ตอนต้นเริ่มแรก]]ของ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียน[[จิตรกรรมแผง]] และเขียน[[บานพับภาพ]] โรแบร์ต แคมแพงมักจะสันนิษฐานกันว่าโรเบิร์ต กัมปิน เป็นคนคนเดียวกับจิตรกรที่เรียกกันว่า "ครูบาแห่งเฟลมาล”เฟลมาล" (Master of Flémalle) ประวัติของแคมแพงกัมปินมีเนื้อหาค่อนข้างสมบูรณ์สำหรับเมื่อเทียบกับชีวิตของคนในยุคนั้น<ref>[http://links.jstor.org/sici?sici=0007-6287%28197411%29116%3A860%3C634%3ARCTMOF%3E2.0.CO%3B2-U&size=LARGE&origin=JSTOR-enlargePage JSTOR] An article by Lorne Campbell in the Burlington gives details and references.</ref> แต่ไม่มีงานชิ้นใดที่กล่าวได้แน่นอนว่าเป็นของแคมแพงกัมปิน ขณะที่งานส่วนใหญ่กล่าวกันว่าเป็นงานของผู้เรียกกันว่า "ครูบาแห่งเฟลมาล”เฟลมาล" ซึ่งเป็นชื่อที่เรียกตามภาพเขียน<ref>Fragments remain probably from some wall-paintings for which he was paid in 1406-7 Campbell:72</ref>
 
== ชีวิต ==
โรแบร์ต แคมแพงดูเหมือนว่าโรเบิร์ต กัมปิน จะมีญาติอยู่ที่วาลองซิเอนส์ล็องเซียน (Valenciennes) ทางตอนเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] เมื่อเริ่มแรกแคมแพงกัมปินตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ทอร์เนตูร์แน (Tournai) ปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศเบลเยียม]] ระหว่างปี ค.ศ. 1405-1406 และเป็นสมาชิกสมาคมจิตรกรที่นั่น ในปี ค.ศ. 1410 แคมแพงกัมปินซื้อสัญชาติซึ่งคงหมายความว่าแคมแพงกัมปินไม่ได้เกิดในที่นั่น ต่อมาแคมแพงกัมปินก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการของสมาคมและหน้าที่ต่างๆต่าง ๆ ที่วัดและสำนักงานท้องถิ่น รวมทั้งมีเวิร์คชอพโรงปฏิบัติงานใหญ่เป็นของตนเอง แต่แคมแพงกัมปินถูกปลดจากตำแหน่งเพราะเหตุการณ์เล่าลือและถูกลงโทษให้ไปแสงแสวงบุญ ในปี ค.ศ. 1429 แคมแพงกัมปินก็ถูกตัดสินว่ามีชู้และถูกลงโทษให้ขับออกจากเมืองไปปีหนึ่ง แต่มาร์กาเร็ตมาร์กาเรตแห่งเบอร์กันดี ชายาของวิลเลียมที่ 2 (ผู้เป็นดุคดุ๊กแห่งบาวาเรีย-สเตราบิงชเตราบิง) และน้องของจอห์นผู้เก่งกล้า (ผู้เป็นดุคดุ๊กแห่งเบอร์กันดี) ก็เข้ามาช่วยลดการลงโทษให้เหลือเพียงแค่ปรับ<ref>Campbell op cit:72, and Campbell 1974</ref> งาน[[บานพับภาพ]]ที่ลงปีที่ทำว่าเป็น ค.ศ. 1438 แสดงว่าแคมแพงกัมปินยังคงทำงานอยู่จนถึงเวลานั้น บานพับภาพนี้เหลืออยู่เพียงบานปีกสองข้าง บานกลางสูญหายไป
 
== จิตรกร และ ลักษณะภาพ ==
ถึงแม้ว่าแคมแพงกัมปินจะได้รับอิทธิพลจากศิลปิน[[หนังสือวิจิตร]]รุ่นเดียวกันแต่งานของแคมแพงกัมปินมีลักษณะเป็นสัจจะนิยมสัจนิยมมากกว่าจิตรกรคนอื่นก่อนหน้านั้น แคมแพงกัมปินเป็นจิตรกรคนแรกที่ทดลองการใช้สีน้ำมันแทนการใช้สีฝุ่นผสมเพื่อให้ได้สีที่สดขึ้นอันเป็นลักษณะของจิตรกรรมในสมัยนั้น แคมแพงใช้วิธีกัมปินใช้วิธี[[การเขียนแบบทัศนียภาพ]]ในการทำให้แบบมีลักษณะเป็นสามมิติมากขึ้นโดยการใช้แสงและเงาช่วยในการจัดองค์ประกอบที่เป็นทัศนียภาพที่ซับซ้อน ประเด็นหนึ่งที่ยังเป็นที่ถกเถียงกันคือการใช้สัญลักษณ์ซับซ้อนที่ยอมรับกันว่าใช้ในงานของฟานฟัน เอคไอก์ก็ใช้ในงานของแคมแพงด้วยกัมปินด้วย
 
นักประวัติศาสตร์ศิลปะได้พยายามที่จะสืบหาต้นตอของศิลปเรอเนซองส์ทางตอนเหนือของยุโรปแต่ก็มีหลักฐานทางตอนเหนือของอิตาลี และเข้าใจกันเป็นเวลานานว่า[[ยานยัน ฟานฟัน เอคไอก์]]เป็นจิตรกรคนแรกที่ใช้วิธีเขียนแบบใหม่ซึ่งเห็นได้จากหนังสือวิจิตรในการเขียนภาพบนแผ่นไม้ เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จึงเป็นที่เห็นได้ชัดว่าฟานฟัน เอคไอก์เป็นจิตรกรร่วมสมัยกับผู้เขียนภาพที่รวมทั้ง "[[ฉากแท่นบูชาเมโรดรอด]]" ซึ่งเขียนเมื่อ ค.ศ. 1428 ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่[[พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน]], ใน[[นครนิวยอร์ก]], [[สหรัฐอเมริกา]] เป็นฉากแท่นบูชาที่เต็มไปด้วยรายละเอียดและความเหมือนจริง อึกสามแผ่นภาพก็มีลักษณะเช่นเดียวกัน ว่ากันว่ามาจากแอบบีเฟลมาล (Flémalle) แต่ความจริงแล้วแอบบีเฟลมาลไม่มีจริง ปัจจุบันแผ่นภาพทั้งสามอยู่ที่[[แฟรงค์เฟิร์ตแฟรงก์เฟิร์ต]] เป็นที่ถกเถียงกันว่างานเหล่านี้เป็นของ "ครูบาแห่งเฟลมาล”เฟลมาล" ซึ่งในขณะนั้นไม่สามารถบอกได้เป็นที่แน่นอนว่าใครคือผู้วาดที่แท้จริง
 
ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักวิชาการหลายท่านให้ความเห็นว่า "ครูบาแห่งเฟลมาล”เฟลมาล" เป็นใครไปไม่ได้นอกจากโรเบิร์ต โรแบร์ต แคมแพงกัมปิน ที่มีหลักฐานว่าเป็นครูบาจิตรกรที่ทอร์เนจากปีตูร์แนจากปี ค.ศ. 1406 ข้อโต้แย้งมาจากเอกสารที่กล่าวถึงลูกศิษย์สองคนที่แคมแพงกัมปินรับไว้ที่สติวดิโอสตูดิโอในปี ค.ศ. 1427 - [[ยาร์คฌัก ดาเรท์แร]] (Jacques Daret) และ โรเจเลท์รอเฌอแล เดอลาอ ลา พาสเจอร์ปาตูร์ (Rogelet de la Pasture) ชื่อหลังอาจจะเป็นคนเดียวกับ [[โรเจียร์เคียร์ ฟานฟัน เดอ เวย์เด็นเดอร์ไวเดิน]] เพราะชื่อทั้งสอง, ชื่อแรกเป็นภาษาฝรั่งเศสและอีกชื่อหนึ่งภาษาดัทช์ดัตช์ หมายความแปลว่า “ทุ่ง”"ทุ่ง" ในภาษาอังกฤษเหมือนกัน งานเขียนฉากแท่นบูชาชิ้นหนึ่งของดาเรท์แรมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับงานเขียนของ "ครูบาแห่งเฟลมาล”เฟลมาล" และ งานสมัยแรกๆแรก ๆ ของแคมแพงกัมปินเป็นอย่างมาก ฉะนั้นจึงน่าจะกล่าวได้ว่าทั้งสองคนเป็นลูกศิษย์ของ“ของ "ครูบาแห่งเฟลมาล”เฟลมาล" หรือโรเบิร์ต โรแบร์ต แคมแพงกัมปิน ข้อสันนิษฐานอีกข้อคือบานพับภาพเฟลมาลเขียนโดยโรเจียร์เคียร์ ฟานฟัน เดอร์ เวย์เด็นไวเดินเมื่อยังอายุในระหว่างยี่สิบปีกว่าๆว่า ๆ นักวิชาการบางท่านกล่าวว่างาน "[[ชะลอร่างจากกางเขน]]" ที่พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑสถานปราโดเขียนโดยโรแบร์ตโรเบิร์ต แคมแพงกัมปิน มิใช่โรเจียร์เคียร์ ฟาน เดอร์ฟัน เวย์เด็นเดอร์ไวเดิน
 
== งานสมัยแรก ==
"บานพับภาพการฝังพระเยซู”เยซู" หรือ "บานพับภาพไซเลิร์น”เลิร์น" (Entombment Triptych หรือ Seilern Triptych) ที่สถาบันคอร์ทอล ที่โทลด์ที่[[ลอนดอน]]ถือว่าเป็นงานชิ้นแรกๆแรก ๆ ของโรแบร์ตโรเบิร์ต แคมแพงกัมปินซึ่งเขียนราวปี ค.ศ. 1415-1420[http://www.courtauldimages.com/image_details.php?image_id=168388&wherefrom=keywordresults] บานกลางแสดงให้เห็นอิทธิอิทธิพลที่ได้มาจากรูปปั้นในสมัยนั้น (แคมแพงกัมปินเองก็มีชื่อว่าทาสีรูปปั้นหลายรูป) หลังจากนั้นแคมแพงก็เขียนกัมปินก็เขียน "การแต่งงานของพรมจารี”พรหมจารี" (Marriage of the Virgin) ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑสถานปราโด และ "[[การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)|การประสูติของพระเยซู]]" (Nativity) ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑสถานศิลปะที่ดิจองดีฌงในประเทศฝรั่งเศสที่เขียนเมี่อราว ค.ศ. 1420-1425
 
== บานพับภาพเมโรด์ ==
ระหว่างปี ค.ศ. 1425-1430 ดูเหมือนว่าแคมแพงจะเขียนกัมปินจะเขียน "[[ฉากแท่นบูชาเมโรดรอด]]" ปัจจุบันอยู่ที่[[พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน]], นครนิวยอร์ก ซึ่งเป็นภาพที่ซับซ้อนจากหัวเรื่อง "[[การประกาศของเทพ]]" แผ่นกลางที่แปลกออกไปที่อยู่ที่พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑสถานศิลปะที่[[บรัสเซลส์]]ทำให้เห็นว่าบานพับภาพเมโรด์รอดที่นิวยอร์กไม่ใช่ภาพต้นแบบจริง
 
== งานอื่นๆอื่น ๆ ==
[[ไฟล์:Robert Campin - L' Annonciation - 1425.jpg|thumb|300px|"[[บานพับภาพเมโรด์รอด]]" ค.ศ. 1425-1428]]
งานอื่นที่กล่าวกันว่าเขียนโดยโรแบร์ตโรเบิร์ต แคมแพงกัมปินจะหาดูได้ที่ พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ,พิพิธภัณฑสถานเฮอร์มิทิจ (เมือง[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]), [[พิพิธภัณฑ์ปราโด|พิพิธภัณฑสถานปราโด]] (กรุง[[มาดริด]]) และพิพิธภัณฑ์[[หอศิลป์แห่งชาติ, [[(ลอนดอน)|หอศิลป์แห่งชาติ]], (กรุง[[อังกฤษลอนดอน]])
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 29:
== ดูเพิ่ม ==
* [[ฉากแท่นบูชา]]
* [[ยุคสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา|ศิลปะเรอเนซองส์]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Robert Campin|โรแบร์ตโรเบิร์ต แคมแพงกัมปิน}}
* [http://www.artcyclopedia.com/artists/campin_robert.html โรแบร์ตโรเบิร์ต แคมแพงที่กัมปินที่ Artcyclopedia] {{en icon}}
* [http://www.zeno.org/Kunstwerke/A/Campin,+Robert โรแบร์ตโรเบิร์ต แคมแพงที่กัมปินที่ Zeno.org] {{en icon}}
* [http://www.abcgallery.com/C/campin/campin.html แกลเลอรีของงานโดยโรเบิร์ต โรแบร์ต แคมแพงกัมปิน] {{en icon}}
 
== สมุดภาพ ==
<center>
<gallery perrow="5">
ภาพ:Robert Campin 003.jpg|"[[การประสูติของพระเยซู]]"<br />ราว ค.ศ. 1425,<br />พิพิธภัณฑ์ศิลปะพิพิธภัณฑสถานที่ดิจองดีฌง,<br />ประเทศฝรั่งเศส
ภาพ:Robert Campin 006.jpg| "[[การประกาศของเทพ]]"<br />ราว ค.ศ. 1420-1440,<br />พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑสถานศิลปะ<br />ที่บรัสเซลส์
ภาพ:Werl-Triptychons.jpg|"[[บานพับภาพเวิร์ล]]" พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑสถานปราโด, ประเทศสเปน
ภาพ:Werl-Triptychons (Saint-Barbara).jpg|"[[บานพับภาพเวิร์ล]]-<br />[[นักบุญบาร์บารา]]"<br />(รายละเอียด)
ภาพ:Robert Campin 012.jpg|ภาพเหมือนผู้หญิง<br /> ราว ค.ศ. 1430-1435<br />พิพิธภัณฑ์หอศิลป์แห่งชาติ,<br />ลอนดอน, อังกฤษ
</gallery>
</center>