ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:เจ้าจอมมารดาอัมพา.jpg|thumb|200px|เจ้าจอมมารดาอัมพา ในปัจฉิมวัย]]
{{Infobox Person
| name = เจ้าจอมมารดาอัมพา
| image = เจ้าจอมมารดาอัมพา.jpg
| caption =
| birth_name = อัมพา
| birth_date =
| birth_place =
| residence =
| death_date =
| death_place =
| nationality =
| known_for =
| employer =
| occupation =
| height =
| term =
| father = พระอินทรอากร (อิน ไกรฤกษ์)
| mother =
| spouse = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
| children = พระองค์เจ้า 6 พระองค์
| relatives =
| signature =
| website =
| footnotes =
}}
 
'''เจ้าจอมมารดาอัมพา'''<ref name="ราชสกุลวงศ์">{{cite web |url=http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf|title= ราชสกุลวงศ์|author=|date=|work= |publisher=กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์|accessdate=24 กุมภาพันธ์ 2557}}</ref> มีสมญาในการแสดงว่า '''อัมพากาญจหนา''' เป็นพระสนมใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] มีพระทายาทสืบเชื้อสายในสายราชสกุลกปิตถา และปราโมช<ref name= "วิบูล"/>
 
== ประวัติ ==
เจ้าจอมมารดาอัมพา เป็นธิดาคนที่สามจากทั้งหมดเจ็ดคนของพระยาอินทรอากร (อิน ไกรฤกษ์<ref name="พลายน้อย">ส.พลายน้อย. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม''. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์. 2554, หน้า 267-268</ref><ref name="กัลยา">กัลยา เกื้อตระกูล. ''พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระชายานารี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอม ในรัชกาลที่ ๑-๗'' กรุงเทพฯ:ยิปซี. 2552, หน้า 66-67</ref> หรือ โง้ว แซ่หลิม) กับภรรยาชาวจีนไม่ปรากฏนาม และเกิดในประเทศจีน มีพี่น้องคือ เสง (ช.), มิน (ช.), ไม้เทศ (ญ.), เถาวัลย์ (ญ.), กลีบ (ญ.) และมุ้ย (ช.)
เจ้าจอมมารดาอัมพา เป็นธิดาของพระอินทรอากร (อิน ไกรฤกษ์)<ref>'''ราชินิกูลรัชกาลที่ 5''', หน้า 23</ref> มีพี่น้องรวม 7 คน คือ นายเสง นายมิน เจ้าจอมมารดาอัมพา นางไม้ นางเถาวัลย์ นางกลีบ นายมุ้ย
 
ทั้งนี้พระยาอินทรอากรผู้บิดา เป็นน้องชายของพระยาไกรโกษา (เริก ไกรฤกษ์) ที่ถวายตัวรับราชการต่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีในตำแหน่งเสมียนกรมท่าซ้าย ติดต่อค้าขายกับประเทศจีน จนลุมาสมัยรัชกาลที่ 1 จึงเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "พระยาไกรโกษา" และเป็นต้นสกุลไกรฤกษ์สืบมา<ref>{{cite web |url=http://www.manager.co.th/celebonline/viewnews.aspx?NewsID=9570000001342|title=100 ปี ไกรฤกษ์” ความอบอุ่นเหนือกาลเวลาลูกเต็มบ้านหลานเต็มเมือง|author=|date=5 มกราคม 2557|work= |publisher=ASTVผู้จัดการออนไลน์|accessdate=4 มีนาคม 2557}}</ref>
กล่าวกันว่าเจ้าจอมมารดาอัมพาถือกำเนิดที่[[มณฑลฮกเกี้ยน]] มารดาเป็น[[ชาวจีน]] เพราะเป็นธรรมเนียมของคนจีน ผู้ชายเมื่ออพยพไปอยู่ต่างถิ่นจะต้องกลับมาแต่งงานที่เมืองจีน เพื่อให้ภรรยาเป็นภรรยาหลวงแล้วย้อนกลับมาทำงานที่เมืองไทย
 
เจ้าจอมมารดาอัมพาได้รับการเลี้ยงดูอย่างกุลสตรีจีนและถูกมัดเท้าเล็กตามธรรมเนียม จนอายุได้ 8 ขวบบิดาจึงนำมาอำรุงเลี้ยงต่อในไทย จึงแก้มัดเท้าดังกล่าวออกเสียและอบรมอย่างกุลสตรีไทยสืบมา<ref name= "วิบูล"/> เมื่ออยู่ในไทยได้เพียงปีเดียว บิดาก็ถวายตัวไปเป็นนางละครรุ่นเล็กของรัชกาลที่ 1 ด้วยมีความสามารถในการแสดงละครไทยได้อย่างงดงามและมีชื่อเสียงโดยเฉพาะบทนางกาญจหนาในวรรณคดีเรื่อง[[อิเหนา]] จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นครูละครและมีโรงละครเป็นของตนเองในเวลาต่อมา<ref name= "วิบูล"/> จากการมีชื่อเสียงประกอบกับความงามดังกล่าวสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ต่อมาคือ [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]) จึงทรงมีจิตปฏิพัทธ์และมีความสัมพันธ์กันในเวลาต่อมา และให้ประสูติกาลพระราชบุตร 6 พระองค์ คือ<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/><ref name= "พลายน้อย"/><ref name= "กัลยา"/>
เมื่อเจ้าจอมมารดาอัมพาอายุยังน้อยถูกจับมัดเท้าให้เล็กตามธรรมเนียมจีนซึ่งถือว่าสวยงาม แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น เมื่ออายุ 8 -10 ขวบ บิดาได้นำมาอยู่ด้วยที่เมืองไทย แล้วแก้เท้าออกให้ศึกษาด้วยตามธรรมเนียมไทย ต่อมาบิดาได้นำถวายตัวเป็นละครรุ่นเล็กในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ได้หัดรำจนสวยงามและได้แสดงละครเรื่อง[[อิเหนา]]เป็นตัวกาญจหนา คนจึงเรียกท่านว่า อัมพากาญจหนา ต่อมาท่านได้เป็นครูละครของหลวงซึ่งชื่อของท่านยังอยู่ในทำเนียบครูโขนละครมาจนถึงปัจจุบัน
*# '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากปิตถา กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์]]''' (ประสูติเมื่อวันที่: 5 เมษายน พ.ศ. 2357 - สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2415) เป็นต้นราชสกุลกปิตถา
*# '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ]]''' (ประสูติเมื่อวันที่: 11 มีนาคม พ.ศ. 2359 สื้น- สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่: 1213 พฤศจิกายนมิถุนายน พ.ศ. 23942415) เป็นต้นราชสกุลปราโมช
*# '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกยูร]]''' (ประสูติเมื่อวันที่: 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2361 สื้น- สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2398)
*# '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัณฐา]]''' (ประสูติเมื่อวันที่: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2364 สื้น- สิ้นพระชนม์เมื่อ: พ.ศ. 2393)
*# '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณี (ในรัชกาลที่ 2)|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณี]]''' (ประสูติเมื่อวันที่: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2365 สื้นพระชนม์เมื่อ- สื้นพระชนม์: พ.ศ. 2366)
*# '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนิษฐน้อยนารี]]''' (ประสูติเมื่อวันที่: 22 มกราคม พ.ศ. 2367 สื้นพระชนม์เมื่อวันที่- สื้นพระชนม์: 31 สิงหาคม พ.ศ. 2406)
 
ทั้งนี้เจ้าจอมมารดาอัมพายังเป็นสตรีที่เจ้าระเบียบ แต่งกายเป็นนางในตลอดชีพคือนุ่งสไบตามสีของวัน แม้จะมีฐานะเป็นเจ้าจอมมารดาของกษัตริย์ไทยแต่เจ้าจอมมารดาอัมพาก็ไม่เคยลืมกำพืดของตน เมื่อมีญาติมาเฝ้าในวังท่านก็จะเจรจาโต้ตอบด้วย[[ภาษาจีน]]เสมอ ซ้ำยังสอนภาษาจีนแก่เหล่านางในด้วยกันอีกด้วย<ref name="วิบูล">วิบูล วิจิตรวาทการ. น.พ. ''สตรีสยามในอดีต''. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:สร้างสรรค์บุ๊คส์. 2542, หน้า 115-120</ref> ในช่วงที่สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฏออกผนวช เจ้าจอมมารดาอัมพาก็ทำเครื่องเสวยส่งจากวังทั้งเช้าและเพล จนพระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฏทรงซาบซึ้งนัก หลังสืบราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 4 แล้ว ก็ทรงตรัสเรียกท่านว่า "แม่พา" อยู่เสมอถือเป็นการให้เกียรติอย่างสูง<ref name= "วิบูล"/> ทั้งนี้เจ้าจอมมารดาอัมพามักทูลเกล้าถวายเงินอยู่เสมอ และปรารภว่า ''"ในหลวงแผ่นดินนี้ท่านยากจน ทรงผนวชมาแต่ทรงพระเยาว์ และลาผนวชทาเสวยราชสมบัติ ไม่มีเวลาสะสมราชทรัพย์ เงินแผ่นดินนั้นต้องทรงใช้จ่ายในราชการแผ่นดิน จะใช้สอยส่วนพระองค์อัตคัด"'' พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงรับไว้ด้วยความเต็มพระทัย<ref name= "วิบูล"/>
เจ้าจอมมารดาอัมพาเป็นคนเจ้าระเบียบทั้งมารยาทและการแต่งกายแบบนางในตลอดชีวิต คือ นุ่งผ้าจีบและห่มสไบสีตามวัน เมื่อชาววังเปลี่ยนมานุ่งโจงกระเบนท่านก็มิได้เปลี่ยนตาม ส่วนภาษาจีนท่านก็มิได้ลืม ท่านยังได้สอนภาษาจีนให้กับเจ้านายใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ]]ด้วย เมื่อญาติพี่น้องที่เมืองจีนมาพบท่านในวัง ท่านก็พูดภาษาจีนด้วย
 
เจ้าจอมมารดาอัมพามีความจงรักภักดีต่อ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ตั้งแต่ยังผนวชอยู่[[วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร]] ด้วยการทำเครื่องเสวยคาวหวานและผลไม้ส่งออกมาจากในวังและไปถวายเพลมิได้ขาด ทั้งยังได้นำพระองค์เจ้าปราโมชไปถวายเป็นศิษย์ด้วย
 
== พระราชบุตร ==
มีพระราชโอรส 3 พระองค์ พระราชธิดา 3 พระองค์คือ
* '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากปิตถา กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์]]''' ประสูติเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2357 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2415
* '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ]]''' ประสูติเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2359 สื้นพระชนม์เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2394
* '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกยูร]]''' ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2361 สื้นพระชนม์เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2398
* '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัณฐา]]''' ประสูติเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2364 สื้นพระชนม์เมื่อพ.ศ. 2393
* '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณี (ในรัชกาลที่ 2)|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณี]]''' ประสูติเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2365 สื้นพระชนม์เมื่อพ.ศ. 2366
* '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนิษฐน้อยนารี]]''' ประสูติเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2367 สื้นพระชนม์เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2406
 
== อ้างอิง ==
เส้น 57 ⟶ 28:
[[หมวดหมู่:เจ้าจอมมารดา]]
[[หมวดหมู่:พระภรรยาในรัชกาลที่ 2]]
[[หมวดหมู่:สกุลไกรฤกษ์]]