ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไพร่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ระบบไพร่ดำรงอยู่จนกระทั่งถึงกลางสมัยรัตนโกสินทร์ และค่อย ๆ จางหายไปเอง เมื่อมีการนำระบบภาษีอากร และระบบเกณฑ์ทหารแบบสมัยใหม่มาใช้{{อ้างอิง}}
 
โนบิตะ
== การใช้งานในปัจจุบัน ==
 
[[ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ]] นำคำว่า "ไพร่" มาใช้ใน[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ. 2553|การชุมนุมทางการเมืองเมื่อปี 2553]] โดยหมายถึง ประชาชนธรรมดาที่เคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์แต่ก็ได้มีข้อโต้แย้งจากนักวิชาการว่า เป็นเพียงการสร้างวาทะกรรม โดยมีวาระซ้อนเร้นในการสร้างเรื่องแบ่งชนชั้นเพื่อบรรลุเป้าหมายทางการเมืองเท่านั้น เพราะคำว่าไพร่ มักจะมานำมาใช้ คู่กับคำว่า [[อำมาตย์]] ซึ่งไม่ได้ระบุเพียงองคมนตรี แต่อาจพาดพิงไปยังเบื้องสูงอีกด้วย <ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/analysis/20100325/106816/ณัฐวุฒิ-:-ถอดรหัส-ไพร่---อำมาตย์.html ถอดรหัส “ไพร่” กับ “ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ”] ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ ให้สัมภาษณ์ เสถียร วิริยะพรรณพงศา และอรรถยุทธ บุตรศรีภูมิ, กรุงเทพธุรกิจ, 25 มีนาคม 2553</ref> <ref>[http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9530000040227/ ถอดรหัส "ไพร่-อำมาตย์" วาทกรรมอำพราง "ทักษิณ" ตีองคมนตรี-ล้มเจ้า] </ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไพร่"