ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 3 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
เปรียญธรรม 3 ประโยค ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น เปรียญธรรม ๓ ประโยค ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้เลขอารบิกเฉพาะที่ ลบสระซ้อน
บรรทัด 1:
[[ภาพ:พัดยศเปรียญธรรม ๓ ประโยค.jpg|thumb|พัดยศเปรียญธรรม ๓ ประโยค]]
 
'''เปรียญธรรม ๓ ประโยค''' ''(ชื่อย่อ ป.ธ.๓)'' เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียก[[พระภิกษุ]]ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า '''"[[พระมหา]]"''' และ[[สามเณร]]ว่า '''"[[สามเณรเปรียญ]]"''' [[กระทรวงศึกษาธิการ]]เทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่า[[มัธยมศึกษาตอนต้น]]<ref>[http://www.ago.go.th/interest_law/sub/sub1/sub1_๕๕55.html พระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผู้สำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗]</ref> ผู้สอบได้ในชั้นนี้จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จาก[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ]] โปรดฯ ทรงตั้งให้เป็น[[เปรียญ]] ได้รับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญธรรม ๓ ประโยค
 
การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น '''"เปรียญธรรม ๓ ประโยค"''' นั้น แบ่ง
รายวิชาที่[[สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง]]กำหนดให้[[พระภิกษุ]][[สามเณร]]สอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น 4 วิชา คือ วิชาไวยากรณ์, วิชาแปล[[ภาษาบาลี|มคธ]]เป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย และวิชาบุรพภาค <ref>[http://www.heritage.thaigov.net/religion/misc/study2.htm การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี สมัยปัจจุบัน จากหอมรดกไทย]</ref>
 
== หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมบาลีในชั้นเปรียญธรรม ๓ ประโยค ==
 
ในชั้นนี้ แม่กองบาลีสนามหลวง กำหนดวิชาในการศึกษาไว้ 4 วิชา คือ
 
=== วิชาบาลีไวยากรณ์ ===
 
ใช้หนังสือบาลีไวยากรณ์ 4 เล่ม ในชั้นประโยค ๑ - ๒ <ref>[http://www.heritage.thaigov.net/religion/misc/study2.htm การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี สมัยปัจจุบัน จากหอมรดกไทย]</ref>
 
'''การสอบไล่ประเภทสอบถามความจำและความเข้าใจประกอบกัน 7 ข้อ'''
 
=== วิชาแปลมคธเป็นไทย ===
บรรทัด 23:
[[ภาพ:ธมฺมปทฏฐกถา สตฺตโม ภาโค.jpg|thumb|ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี "ธมฺมปทฏฐกถา สตฺตโม ภาโค" ''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค ป.ธ. ๓''' และ วิชาแต่งไทยเป็นมคธในชั้น เปรียญธรรม ๖ ประโยค]]
 
ใช้หนังสืออรรถกถาธรรมบท 4 เล่ม คือ
<ref>[http://www.learntripitaka.com/Theology2.html หนังสือหมวดเปรียญธรรม ประโยค ๑ ถึง ๙ ]</ref>
*ธมฺมปทฏฺฐกถา (ปญฺจโม ภาโค - ภาคห้า)
*ธมฺมปทฏฺฐกถา (ฉฏฺฺโฐฉฏฺโฐ ภาโค - ภาคหก)
*ธมฺมปทฏฺฐกถา (สตฺตโม ภาโค - ภาคเจ็ด)
*ธมฺมปทฏฺฐกถา (อฏฺฺฐโมอฏฺฐโม ภาโค - ภาคแปด)
 
==== การสอบไล่วิชาแปลมคธเป็นไทย ====
 
แบ่งข้อสอบในวิชานี้ออกเป็น 2 ชั้นคือ
 
*'''แปลโดย[[ความหมายโดยพยัญชนะ|พยัญชนะ]]'''
บรรทัด 38:
*'''แปลโดยอรรถะ'''
 
การตรวจข้อสอบ กำหนดจากเกณฑ์การทำข้อสอบผิด หากผิดมากกว่า ๑๘18 คะแนนขึ้นไป ถือว่าตกในวิชานี้
 
*'''ผิดศัพท์''' แปลผิดคำศัพท์ ปรับผิด 2 คะแนน
*'''ผิดสัมพันธ์''' ปรับผิด 3 คะแนน
*'''ผิดประโยค''' แปลเรียงรูปประโยคผิด ประธานและกรรมไม่สอดคล้องกัน ปรับผิด 6 คะแนน (หากผิด 2 ประโยค ถือว่าตก)<ref>[http://www.watpaknam.org/pali_download/panha_p2-5y๕๐50.pdf ตัวอย่างปัญหา-เฉลยบาลีสนามหลวง ประโยค ๑-๒ - ป.ธ.๕ ปี ๒๕๕๐]</ref>
 
=== วิชาสัมพันธ์ไทย ===
บรรทัด 50:
====การศึกษาวิชาสัมพันธ์ไทย ====
 
ใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถา 4 เล่ม เหมือนวิชาแปลมคธเป็นไทย
 
==== การสอบไล่วิชาสัมพันธ์ไทย ====
บรรทัด 70:
== ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค ==
 
[[ภาพ:ตั้งเปรียญ3.jpg|thumb|ในปัจจุบัน [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หััวพระเจ้าอยู่หัว]] จะทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้[[สมเด็จพระสังฆราช]] และเจ้าคณะใหญ่หนต่าง ๆ เป็นผู้แทนพระองค์ ในการประกอบพิธีทรงตั้ง[[เปรียญ]][[ธรรม]][[พระภิกษุ]]และ[[สามเณร]]ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยคแทน]]
 
[[พระภิกษุ]][[สามเณร]]ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้จะได้รับประกาศนียบัตร พระราชทาน[[พัดยศ]]เปรียญธรรม ทรงตั้งเป็น "เปรียญ" เมื่อผ่านการทรงตั้งแล้วถ้าเป็นพระภิกษุจะมีสิทธิ์ใ้ช้ใช้คำนำหน้าชื่อว่า '''"[[พระมหา]]"''' ถ้าเป็น[[สามเณร]] สามารถใช้คำต่อท้าย[[นามสกุล]]ว่า '''"[[เปรียญ]]."'''
 
การตั้งเปรียญเป็น[[สมณศักดิ์]]เกี่ยวกับความรู้ สมณศักดิ์ประเภทนี้ทรงตั้งถวายเฉพาะพระภิกษุสามเณรที่สอบได้เปรียญธรรมตั้งแต่ ๓-๙ ประโยค เรียกว่า ‘ทรงตั้งเปรียญ’ แต่ละประโยคมีเลขพัดยศกำกับ พระภิกษุสามเณรผู้สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยคขึ้นไปจะทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้[[สมเด็จพระสังฆราช]]ทรงตั้ง โดยประทานประกาศนียบัตร พัดยศ ชื่อว่า ทรงตั้งแล้ว ส่วนผู้สอบได้ประโยค [[ป.ธ. ๖]] ถึงประโยค [[ป.ธ. ๙]] จะเสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานประกาศนียบัตรพัดยศ และ[[ไตรจีวร]]ด้วยพระองค์เอง ณ พระ[[อุโบสถ]][[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] <ref>[http://www.watpaknam.net/pali9.php การประกอบพิธีทรงตั้งเปรียญธรรม ๓ ประโยค]</ref>