ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพราเซลซัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 3:
 
== ชีวประวัติ ==
<br />
:พาราเซลซัส(Paracelsus)มีชื่อเดิมว่า Philippus Areolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim เกิดและเติบโตที่หมู่บ้าน Einsiedeln
:พาราเซลซัส(Paracelsus)มีชื่อเดิมว่า Philippus Areolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim เกิดและเติบโตที่หมู่บ้าน Einsiedeln ประเทศสวิซเซอร์แลนด์ เป็นลูกชายของ วิลฮิม บอมบาสต์ นักเคมีและฟิสิกส์ กับ หญิงชาวสวิส ในตอนเด็กเขาได้ทำงานเป็นนักวิเคราะห์ที่เหมือง จนเมื่ออายุได้ 16 ปี เขาก็ได้เข้าศึกษาต่อด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBasel ภายหลังจากที่ย้ายไปที่ Vienna เขาก็ได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยFerrara จากการเป็นนักฟิสิกส์เร่ร่อนและช่างขุดแร่ทำให้เขาได้เดินทางไปในหลายๆประเทศทั้งเยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน ฮังการี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และรัสเซีย<br />
จนเมื่ออายุได้ 16 ปี เขาก็ได้เข้าศึกษาต่อด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBasel ภายหลังจากที่ย้ายไปที่ Vienna เขาก็ได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยFerrara
:จากการเป็นนักฟิสิกส์เร่ร่อนและช่างขุดแร่ทำให้เขาได้เดินทางไปในหลายๆประเทศทั้งเยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน ฮังการี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และรัสเซีย
 
 
:บรรทัดที่ย่อหน้าพาราเซลซัสศึกษาวิชาหลายแขนง หนึ่งในนั้นคือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เป็นวิชาที่สำคัญในการพัฒนาวิชาการแพทย์ของเขา หลังจากการศึกษาครั้งนี้เขาได้คิดค้นเครื่องรางของขลังทางดาราศาสตร์สำหรับป้องกันโรคด้วยใช้สัญลักษณ์12นักษัตรโดยแต่สัญลักษณ์ก็จะป้องกันโรคได้แตกต่างกัน และเขายังได้ประดิษฐ์อักษรเวทมนตร์เพื่อสลักชื่อเทพลงในเครื่องรางของเขาอีกด้วย
:บรรทัดที่ย่อหน้าพาราเซลซัสเป็นผู้ริเริ่มนำสารเคมีและแร่ธาตุมาใช้เป็นยารักษาโรค เขาใช้คำว่าซิงค์แทนธาตุสังกะสีในปี1526 โดยมาจากศัพท์เยอรมันซิงค์ที่แปลว่าแหลมคมตามรูปร่างของตัวผลึกสังกะสี เขาใช้ในการทดลองเพื่อศึกษาร่างกายมนุษย์ นอกจากนี้เขายังมีส่วนรับผิดชอบในการผลิตทิงเจอร์ฝิ่นอีกด้วย
:บรรทัดที่ย่อหน้าด้วยความหยิ่งยโสของพาราเซลซัสเป็นที่เลื่องลืออย่างมากทำให้นักฟิสิกส์ทั่วทั้งยุโรปโกรธเกลียดเขา นั่นทำให้เขาดำรงตำแหน่งแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBaselได้ไม่ถึงปี ในขณะที่มีเพื่อนร่วมงานของเขากล่าวหาว่าเขาเป็นคนเผาตำราแพทย์พื้นเมือง จากนั้นเขาก็ถูกขับไล่ออกจากเมือง หลังจากถูกขับออกจากเมืองพาราเซลซัสก็ได้ระเหเร่ร่อนไปยัง ยุโรป แอฟริกา และเอเชียบางส่วนเพื่อศึกษาความหาความรู้เพิ่มเติม เขาได้แก้ไขตำราและเขียนขึ้นใหม่ แต่เขาก็ต้องพบกับปัญหาในการหาผู้ผลิต จนกระทั่งปี 1536 หนังสือเรื่อง Die Grosse Wundartznei (การผ่าตัดที่สมบูรณ์) ของเขาได้ตีพิมพ์และกู้เชื่อเสียงของเขาคืนมาได้ ในชีวิตของพาราเซลซัสได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการกำเนิดลัทธิลูเธอร์รันและความคิดเห็นของเขาในเรื่องธรรมชาติจักรวาลก็มีความเข้าใจมากกว่าคำบรรยายในทางศาสนา
หลังจากถูกขับออกจากเมืองพาราเซลซัสก็ได้ระเหเร่ร่อนไปยัง ยุโรป แอฟริกา และเอเชียบางส่วนเพื่อศึกษาความหาความรู้เพิ่มเติม เขาได้แก้ไขตำราและเขียนขึ้นใหม่ แต่เขาก็ต้องพบกับปัญหาในการหาผู้ผลิต จนกระทั่งปี 1536 หนังสือเรื่อง Die Grosse Wundartznei (การผ่าตัดที่สมบูรณ์) ของเขาได้ตีพิมพ์และกู้เชื่อเสียงของเขาคืนมาได้ ในชีวิตของพาราเซลซัสได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการกำเนิดลัทธิลูเธอร์รันและความคิดเห็นของเขาในเรื่องธรรมชาติจักรวาลก็มีความเข้าใจมากกว่าคำบรรยายในทางศาสนา
:บรรทัดที่ย่อหน้าพาราเซลซัสเสียชีวิตเมื่อตอนอายุได้ 48ปีตามธรรมชาติ ศพของเขาก็ได้รับการฝังที่ป่าช้าโบสถ์เซบาสเตียนในSalzburgตามปรารถนาของเขา และได้ย้ายมาไว้ในสุสานนอกชานโบสถ์ในปัจจุบัน
หลังจากการตายของพาราเซลซัส ศาสตร์ความรู้ของเขาก็ได้เป็นที่รู้จักมากขึ้นและถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้ที่ต้องการล้มล้างฟิสิกส์แบบเก่า
คติประจำตัวของพาราเซลซัสก็คือ "Alterius non sit qui suus esse potest” หมายความว่า “อย่าปล่อยให้มีใครที่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ไปเป็นของผู้อื่น”