ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นักการทหาร
|ชื่อ= คาร์ล รูดอล์ฟ เกิร์ดแกร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์รุนด์ชเตดท์
|รูปภาพ= [[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1987-047-20, Gerd v. Rundstedt.jpg|250px]]
|คำอธิบาย= คาร์ล รูดอล์ฟ เกิร์ดแกร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์รุนด์ชเตดท์
|เกิด= [[12 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1875]]
|ถึงแก่กรรม= [[24 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1953]]
บรรทัด 22:
}}
 
'''คาร์ล รูดอล์ฟ เกิร์ดแกร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์รุนด์ชเตดท์''' ({{lang-de|Karl Rudolf Gerd von Rundstedt}}; [[12 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1875]] - [[24 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1953]]) เป็น[[จอมพล]]แห่งกองทัพเยอรมัน ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight)
 
== สงครามโลกครั้งที่สอง ==
บรรทัด 28:
เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น เขาถูกเรียกตัวกลับมารับราชการทหารอีกครั้งหนึ่ง เพื่อนำกองทัพกลุ่มใต้ระหว่างการรุกรานโปแลนด์ และในระหว่างการรบในฝรั่งเศส เขาได้บัญชาการกองพลแพนเซอร์ 7 หน่วย กองพลยานยนต์ทหารราบ 3 หน่วย และกองพลทหารราบ 35 หน่วย
 
เกิร์ดแกร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์รุนด์ชเตดท์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจอมพลเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม [[ค.ศ. 1940]] และมีส่วนในการวางแผน[[ปฏิบัติการสิงโตทะเล]] เมื่อแผนการบุกดังกล่าวถูกเลื่อนเวลาออกไป เขาจึงเป็นผู้บัญชาการกองกำลังยึดครองและได้รับมอบหมายให้สร้างแนวป้องกันทางทะเลตามชายฝั่งของ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|เนเธอร์แลนด์]] [[ประเทศเบลเยี่ยมเบลเยียม|เบลเยี่ยมเบลเยียม]] และ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]
 
=== ปฏิบัติการบาร์บารอสซา ===
บรรทัด 42:
{{ดูเพิ่มที่|แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
 
ฮิตเลอร์เรียกตัวเกิร์ดแกร์ด ฟอน รุนด์ชเทดท์รุนด์ชเตดท์กลับเข้ารับหน้าที่ดังเดิมในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตก ในเดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1942]] แต่การทำงานของเขาล่าช้า จนกระทั่งถึงฤดูใบไม้ผลิ [[ค.ศ. 1943]] ก็ยังแทบไม่มีการสร้างป้อมปราการใดตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกเลย จนเมื่อเออร์วิน รอมเมล ได้รับมอบหมายมาอยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา จึงค่อยได้เห็นความคืบหน้าการก่อสร้างบ้าง
 
ส่วนแผนการป้องกันทางทะเล เขาเห็นว่า ควรจะมีการจัดวางกำลังยานเกราะอยู่ในแนวหลัง เพื่อที่จะได้สั่งโจมตีพื้นที่ที่กองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกมา แต่จอมพลรอมเมลไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดดังกล่าว เขาเห็นว่า ควรจะจัดวางกำลังยานเกราะใกล้กับแนวชายฝั่ง โดยอยู่นอกวิถีของปืนใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร ส่วนทางด้านฟอน รุนด์ชเทดท์รุนด์ชเตดท์ถูกชักจูงให้เชื่อว่า การยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทางด้านตะวันตกของฝรั่งเศสจะไม่เกิดขึ้น และควรจะมีการวางกำลังยานเกราะเพียงเล็กน้อยไว้ที่นั้น ทำให้มีกองกำลังยานเกราะเพียงสองกองพลป้องกันเขต[[นอร์มังดี]] ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียมหาศาลเมื่อการโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรมาถึง
 
หลังจาก[[การรุกรานนอร์มังดี|การยกพลขึ้นบกในนอร์มังดี]] เมื่อเดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 1944]] เขาได้กระตุ้นให้ฮิตเลอร์เจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร แต่เมื่อเขาถูกปฏิเสธ ว่ากันว่า เขาได้ระเบิดออกมาว่า ''"สงบศึกซะ ไอ้โง่"'' ฮิตเลอร์ได้ปลดเขาออก และแทนที่โดยจอมพล[[กึนเธอร์กึนเทอร์ ฟอน คลุจคลูเกอ]]
 
กลางเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 เขาได้รับตำแหน่งในกองบัญชาการกองทัพเยอรมันด้านตะวันตกอีกครั้งหนึ่ง เขาได้รวบรวมกองกำลังเพื่อต่อกรกับ[[ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน]]อย่างรวดเร็ว และได้รับชัยชนะ เขาถูกปลดออกจากกองบัญชาการอีกครั้งหนึ่งในเดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1945]] เนื่องจากเขาบอกกับเคย์เทลว่า ฮิตเลอร์ควรจะเจรจาสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร ดีกว่าสู้รบในสงครามอันสิ้นหวังนี้