ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลี่ จื้อเฉิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Aristitleism ย้ายหน้า หลี่จื้อเฉิง ไปยัง หลี่ จื้อเฉิง
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Li Zicheng.jpeg|thumb|250px|อนุสาวรีย์หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิง]]
 
'''หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิง''' ([[ภาษาอังกฤษ{{zh|อังกฤษ]]: Li Zicheng, [[ภาษาจีน|จีน]]: c=李自成, [[พินอิน]]: |p=Lĭ Zìchéng}}) [[เป็นสมาชิกกบฏ]][[ชาวนาเมืองแมนแดนสันติ]]ผู้ยิ่งใหญ่ ในปลายยุค[[ราชวงศ์หมิง]]ต่อกับช่วงต้น[[ราชวงศ์ชิง]] เป็นผู้เอาชนะใจราษฎรได้ส่วนใหญ่ จนได้รับฉายาว่า "กษัตริย์ผู้กล้า" ทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่เป็นกษัตริย์<ref name="สนุก"/> ทุกวันนี้ มีอนุสาวรีย์ขนาดใหญ่ของหลี่จื้อเฉิงขนาดใหญ่หลี่ จื้อเฉิง อยู่ที่บริเวณทางเข้า[[สุสานจักรพรรดิราชวงศ์หมิงและชิง]] [[กรุงปักกิ่ง]]
 
== ประวัติ ==
หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิง เกิดเมื่อวันที่ [[22 กันยายน]] [[ค.ศ. 1606]] โดยมีชื่อเดิมว่า '''หลี่หลี่ หงจี่จี''' (Lĭ Hóngjī, 鴻基) ที่[[มณฑลฉ่านซี]] ด้วยการเป็นคนเลี้ยง[[แกะ]] จึงได้ชำนาญการ[[ขี่ม้า]]และ[[ธนู|ยิงธนู]] ด้วยอายุเพียง 20 ปี
 
== กบฏชาวนา ==
 
ต่อมาเกิด[[ทุกขภิกภัย]]ทั่วไปในมณฑลฉ่านซี แต่ทางการก็ยังเก็บรีดไถ[[ภาษี]]กับราษฎร จึงเกิดกบฏชาวนาขึ้นมา 2 กลุ่มใหญ่ ๆ โดย หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิง และ จางเซี่ยนจง (张献忠)โดยในระหว่างทำศึกจางเซี่ยนจงได้เคยเพลี่ยงพล้ำพ่ายแพ้ให้กับทางการ ส่วนหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงในขณะทำศึก มักจะนำเอาอาหารที่ยึดได้มาแจกจ่ายให้กับผู้อดอยาก ทั้งยังประกาศให้ใช้ที่ดินทำกินได้โดยไม่เสียภาษี ทำให้มีผู้คนแห่แหนมาเข้าร่วมด้วยจนมีกองกำลังหลายหมื่นคน
 
ในปี [[ค.ศ. 1643]] หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงได้เข้ายึดเมือง[[เซียงหยาง]] และตั้งตนขึ้นเป็น '''ซินซุ่นหวัง''' (新順王) และเมื่อบุกยึดฉ่านซีได้ทั้งมณฑลก็ตั้งตัวเองขึ้นเป็น[[ฮ่องเต้]] โดยเรียกชื่ออาณาจักรของตนว่า '''ต้าซุ่น''' จากนั้นได้ทำตามแผนการของที่ปรึกษานาม กู้จวินเอิน ให้ใช้ฉ่านซีเป็นฐานที่มั่น บุกเข้าสู่[[ซีอาน]] จากนั้นค่อยบุกต่อไปยัง[[ปักกิ่ง]]ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของราชวงศ์หมิง
หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงนำทัพบุกข้าม[[แม่น้ำฮวงโห]]บุกยึด[[ไท่หยวน]] [[ต้าถง]] [[เซวียนฝู่]] เข้าสู่ด่านยงกวนด้วยชัยชนะมาตลอดทาง กระทั่งเดือน 3 ของปี [[ค.ศ. 1644]] ได้นำทัพเข้าปิดล้อมปักกิ่ง จนฮ่องเต้[[จักรพรรดิฉงเจิน|หมิงซือ]]จงเห็นว่าจบสิ้นแล้ว จึงได้ปลงพระชนม์ตนเองด้วยการผูกคอตายที่ภูเขาเหมยซัน ชานกรุงปักกิ่ง ฮ่องเต้หมิงซือ จึงได้ว่าเป็นฮ่องเต้องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์หมิง
 
แม้หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงจะสามารถยึดครองปักกิ่งไว้ได้ ทว่าแรงกดดันจากกองทัพอื่น ๆ ก็ยังไม่จบสิ้น ยังมีกำลังทหารแตกทัพของราชวงศ์หมิง กองกำลังของ[[อู๋ซานกุ้ย]] (吴三桂) ที่[[ด่านซันไห่กวน]] (山海关) และกองทัพจาก[[แมนจู]]จากทาง[[แมนจูเรีย|ตะวันออกเฉียงเหนือ]]คอยคุกคามอยู่
หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงได้ส่งหนังสือให้[[อู๋ซานกุ้ย]]ยอมสวามิภักดิ์ จากนั้นก็ได้ให้อู๋เซียง บิดาของอู๋ซานกุ้ยที่อยู่ในเมืองหลวงเขียนจดหมายไปกล่อมอีกทาง อีกทั้งได้ส่งคณะทูตนำเงินทองมากมาย พร้อมหนังสือแต่งตั้งให้อู๋ซานกุ้ยขึ้นมีตำแหน่งบรรดาศักดิ์ แต่ในขณะที่อู๋ซานกุ้ยกำลังเดินทางมาเมื่อสวามิภักดิ์ต่อหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิง กลับได้พบกับคนรับใช้ที่หนีออกมาจากเมืองหลวงที่มาส่งข่าวว่าบัดนี้อู๋เซียงถูกจับเป็นตัวประกันและถูกริบทรัพย์สมบัติ นอกจากนั้นเฉินหยวนหยวน (陈圆圆)อนุภรรยาของอู๋ซานกุ้ยยังถูกแม่ทัพหลิวจงหมิ่นชิงตัวไป
เหตุนี้ทำให้อู๋ซานกุ้ยตัดสินใจที่จะหันกลับไปจับมือกับตัวเอ่อกุ่น (多爾衮) แม่ทัพของแมนจู จากนั้นส่งคนให้แสร้งไปส่งข่าวยอมสวามิภักดิ์ต่อหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงเพื่อถ่วงเวลาเอาไว้ก่อน ทว่าในภายหลังเมื่อหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงได้ทราบข่าวว่าอู๋ซานกุ้ยสวามิภักดิ์ต่อแมนจูแล้ว จึงได้นำทัพราว 6 หมื่นเพื่อลงมาปราบปราม แต่ในยามนั้นอู๋ซานกุ้ยได้ลอบเปิดด่านให้กองทัพแมนจูยกเข้ามาอ้อมตีกองทัพของหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิง จนหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงต้องถอยทัพกลับปักกิ่งโดยมีทัพของอู๋ซานกุ้ยไล่ตามมา หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงแก้แค้นด้วยการตัดศีรษะบิดาของอู๋ซานกุ้ยเสียบประจานที่กำแพงเมืองปักกิ่ง จนทหารชิงได้เข้ายึดปักกิ่งได้สำเร็จ กองทัพหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงที่พ่ายแพ้ถอยร่นไปก็ถูกโจมตีและสังหารไปในที่สุดในปี [[ค.ศ. 1645]] เป็นอันอวสานราชวงศ์จีนที่ปกครองโดย[[ชาวฮั่น]]มายาวนานกว่า 2,000 ปี<ref> [http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9510000029498&Page=2&#Comment ราชวงศ์หมิง (1368-1644) - ตอนจบ]</ref>
 
เรื่องราววีรกรรมของหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงได้ถูกเล่าขานกันต่อมามากมาย มีเรื่องเล่ากันว่า ตอนที่เขาก่อกบฏนั้น ยกทัพเข้าเมือง[[ไคเฟิง]] ซึ่งขณะนั้นเขากำลังจะบุกเข้าตีเมือง ได้มีผู้ปล่อยข่าวว่า เขาเป็นบุคคลที่น่ากลัว เดินทางไปทางไหนจะมีแต่ความตาย หลี่ หลี่จื้อเฉิงจื้อเฉิงได้ปลอมตัวเป็นพ่อค้า[[ข้าว]]เข้ามาดูลาดเลาในเมือง หลี่ หลี่จื้อเฉิงจื้อเฉิงจึงกล่าวกับชาวบ้านว่า ที่แท้หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงไม่ใช่บุคคลที่น่ากลัว ซ้ำยังมีเมตตากรุณาต่อชาวบ้านอีก อย่าได้เชื่อคำเล่าลือ ผู้คนจึงเปลี่ยนใจและออกอุบายว่า ให้ทุกคนแขวนโคมแดงไว้หน้าบ้าน เมื่อหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงบุกเข้ามาได้จะไว้ชีวิตและให้ความช่วยเหลือบ้านนั้น
 
เมื่อหลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงบุกเข้าไป พวกขุนนางในเมืองใช้วิธีการปล่อย[[น้ำท่วม|น้ำให้ท่วม]]เมือง แต่หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงได้เตรียมเรือแพไว้แล้ว และนัดแนะกับชาวบ้านเรื่องโคมแดงไว้แล้ว ซึ่งพวกบรรดาขุนนางที่ฉ้อราษฎร์บังหลวงต่างไม่มีใครรู้เรื่องนี้ หลี่จื้อเฉิงหลี่ จื้อเฉิงจึงไม่ช่วยเหลือ แต่จะช่วยเฉพาะบ้านที่แขวนโคมแดงไว้หน้าบ้านเท่านั้น จนกลายมาเป็นประเพณีการแขวนโคมแดงไว้หน้าบ้านทุกวันเทศกาลสำคัญ ๆ ของจีนในปัจจุบัน เช่น [[ตรุษจีน]] เป็นต้น<ref name="สนุก">หน้า 34-41. หนังสือ สนุกกับเทศกาลเฉลิมฉลอง แปลและเรียบเรียงโดย แสงจินดา กันยาทิพย์, (พ.ศ. 2541) สำนักพิมพ์ดอกหญ้า ISBN 974-604-217-3 </ref>
 
== อ้างอิง ==