ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารต้านอนุมูลอิสระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Glutathione-3D-vdW.png|thumb|right|300px|Space-filling model of the antioxidant [[metabolomics|metabolite]] [[glutathione]]. The yellow sphere is the [[redox|redox-active]] sulfur atom that provides antioxidant activity, while the red, blue, white, and dark grey spheres represent oxygen, nitrogen, hydrogen, and carbon atoms, respectively.]]
'''สารต้านอนุมูลอิสระ''' คือโมเลกุลของสารที่สามารถจับกับตัวรับและสามารถยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันของโมเลกุลสารอื่นๆได้ ปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวเนื่องกับการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนจากสารหนึ่งไปยังตัวออกซิไดซ์ ปฏิกิรยาปฏิกิริยาดังกล่าวสามารถให้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร[[อนุมูลอิสระ]] (free radical) ซึ่งสารอนุมูลอิสระเหล่านี้จะเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่และทำลายเซลล์ของร่างกาย สารต้านอนุมูลอิสระจะเข้ายุติปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านี้ด้วยการเข้าจับกับสารอนุมูลอิสระและยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยถูกออกซิไดซ์ ดังนั้นสารต้านอนุมูลอิสระจึงถือเป็นตัวรีดิวซ์ อาทิ [[ไธออล]] [[กรดแอสคอร์บิก]] และ[[โพลีฟีนอล]]<ref name="Sies" />
 
แม้ว่าปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นสิ่งสำคัต่อสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต หากแต่ก็ยังเกิดโทษเช่นกัน ดังนั้นพืชและสัตว์จึงรักษาสมดุลด้วยระบบอันซับซ้อนของปฏิริยาโดยสารต้านอนุมูลอิสระดังชั่นเช่น [[กลูตาไธโอน]] [[วิตามินซี]] และ[[วิตามินอี]] เช่นเดียวกับเอนไซม์อย่างตัวเร่งปฏิกิรยาและเอนไซม์ซูเปอร์ออกไซด์ รวมถึงเพอรอกซิเดสต่างๆ ระดับสารต้านอนุมูลอิสระที่ต่ำหรือเอนไซม์ที่ยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันที่มากเกินไป จะยังผลให้เกิดภาวะออกซิเดชันที่มากเกินไป (oxidative stress) นำมาซึ่งการทำลายหรือสร้างความเสียหายแก่เซลล์ได้
 
ในภาวะที่ออกซิเดชันมากเกินไปจะทำให้เกิดโรคในมนุษย์หลายโรค การใช้สารต้านอนุมูลอิสระในทางเภสัชวิทยาได้รับการศึกษาอย่างละเอียดในการรักษาภาวะ[[โรคหลอดเลือดในสมอง]]และโรค neurodegenerative disease อย่างไรก็ดี ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าออกซิเดชันที่มากเกินไปนั้นเป็นสาเหตุการเกิดโรคหรือไม่
 
สารต้านอนุมูลอิสระถูกนำมาใช้เป็นส่วนผสมของ[[ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร]]หลายชนิด ด้วยคาดหวังในการรักษาสุขภาพและป้องกันโรคอย่าง[[โรคมะเร็ง]]และ[[โรคหลอดเลือดหัวใจ]] รวมไปถึง[[โรคกลัวความสูง]] แม้การศึกษาในช่วงแรกให้การสนับสนุนถึงการเติมสารต้านอนุมูลอิสระในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ช่วยให้สุขภาพดีนั้น ภายหลังการศึกษาในระยะคลินิกพบว่าสารที่เติมลงไปไม่ได้ช่วยหรือก่อให้เกิดประโยชน์อันใดแก่ผู้บริโภค ซ้ำยังผลมาซุ้งซึ่งอันตรายจากการรับประทานที่มากเกินไป<ref>{{Cite journal| doi = 10.1093/qjmed/hcp026| pmid = 19273551| issn = 1460-2393| last = Baillie| first = J K| coauthors = A A R Thompson, J B Irving, M G D Bates, A I Sutherland, W Macnee, S R J Maxwell, D J Webb| title = Oral antioxidant supplementation does not prevent acute mountain sickness: double blind, randomized placebo-controlled trial| journal = QJM: Monthly Journal of the Association of Physicians| volume = 102| accessdate = 2009-03-25| issue = 5| pages = 341–8| date = 2009-03-09| url = http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19273551}}</ref><ref>{{cite journal |author=Bjelakovic G |title=Mortality in randomized trials of antioxidant supplements for primary and secondary prevention: systematic review and meta-analysis |journal=JAMA |volume=297 |issue=8 |pages=842–57 |year=2007 |pmid=17327526 |doi=10.1001/jama.297.8.842 |last2=Nikolova |first2=D |last3=Gluud |first3=LL |last4=Simonetti |first4=RG |last5=Gluud |first5=C}}</ref> นอกจากนี้ยังมีการใช้สารต้านอนุมูลอิสระธรรมชาติใน[[เภสัชภัณฑ์]] และส่วนประกอบอื่นๆในผลิตภัณฑ์อุสาหกรรมเช่น[[สารกันบูด]]ในอาหารและเครื่องสำอาง และช่วยลดการสึกกร่อนของ[[ยาง]]และ[[แก๊สโซลีน]]อีกด้วย
 
== ประวัติ ==
ตั้งแต่การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจากท้องทะเลสู่พืชบก มีการผลิตสารจำพวกต้านอนุมูลอิสระจำพวกแรกอาทิ [[กรดแอสคอร์บิก]] ([[วิตามินซี]]) [[โพลีฟีนอล]] [[ฟลาโวนอยด์]] และ[[โทโคเฟอรอล]] ภายหลังพืชได้มีวิวัฒนาการเป็น[[พืชชั้นสูง]] ในช่วง 50 - 200 ล้านปีก่อนโดยเฉพาะช่วง[[ยุคจูแรสซิก]] การผลิตเม็ดสีอันเป็นสารต้านอนุมูลอิสระเกิดขึ้นมากในช่วงปลายยุคจูแรสซิก โดยเป็นสารเคมีฤทธิต่อต้านจำพวก[[รีแอ็กทีฟออกซิเจน]]อันเป็นผลเนื่องมาจาก[[กระบวนการสังเคราะห์แสง]]<ref>{{cite journal|doi=10.1016/S1095-6433 (02) 00368-9|last1=Benzie|first1=IF|title=Evolution of dietary antioxidants|journal=Comparative biochemistry and physiology. Part A, Molecular & integrative physiology|volume=136|issue=1|pages=113–26|year=2003|pmid=14527634}}</ref><ref>{{cite journal | last1=Venturi|first1=S| last2=Donati|first2=FM|last3=Venturi |first3=A|last4=Venturi |first4=M|title=Environmental iodine deficiency: A challenge to the evolution of terrestrial life?|journal=Thyroid : official journal of the American Thyroid Association|volume=10|issue=8|pages=727–9|year=2000|pmid=11014322|doi=10.1089/10507250050137851}}</ref> คำว่าสารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) เดิมใช้เพื่ออ้างถึงสารเคมีที่ป้องกันการใช้ออกซิเจนในปฏิกิริยา ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการศึกษาเพิ่มเติมอย่างกว้างขวางในประเด็นการใช้สารต้านอนุมูลอิสระในกระบวนการสำคัญของอุตสาหกรรม อาทิ การป้องกันการสึกกร่อนของโลหะ กระบวนการวัลคาไนเซชันของยาง และกระบวนการเกิดสารประกอบพอลิเมอร์ของเชื้อเพลงในสิ่งเหฃปรอะเปื้อนเปรอะเปื้อนของเครื่องยนต์สันดาปภายใน<ref>{{cite journal|unused_data=DUPLICATE DATA: author=Antioxidants|author=Matill HA |year=1947|pmid=20259061|title=Antioxidants.|doi=10.1146/annurev.bi.16.070147.001141|journal=Annu Rev Biochem|volume=16|pages=177–192}}</ref>
 
การวิจัยในระยะแรกของบทบาทสารต้านอนุมูลอิสระในทางชีววิทยามุ่งประเด็นเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดกลิ่นเหม็นหืน<ref>{{cite journal |author=German J |title=Food processing and lipid oxidation |journal=Adv Exp Med Biol |volume=459 |pages=23–50 |year=1999 |pmid=10335367}}</ref> ฤทธิ์สารต้านอนุมูลอิสระสามารถวัดอย่างง่ายโดยนำไขมันใส่ในภาชนะปิดที่มีออกซิเจนและวัดปริมาณออกซิเจนที่ถูกใช้ไปในปฏิกิริยา อย่างไรก็ดีวิธีการดังกล่าวก็ทำให้สามารถระบุได้ว่า [[วิตามินเอ]], [[วิตามินซี|ซี]] และ[[วิตามินอี|อี]] ว่าเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงนำไปสู่การตระหนักถึงความสำคัญของสารต้านอนุมูลอิสระในสิ่งมีชีวิต<ref>{{cite journal |author=Jacob R |title=Three eras of vitamin C discovery |journal=Subcell Biochem |volume=25 |pages=1–16 |year=1996 |pmid=8821966}}</ref><ref>{{cite journal |author=Knight J |title=Free radicals: their history and current status in aging and disease |journal=[[Ann Clin Lab Sci]] |volume=28 |issue=6 |pages=331–46 |year=1998 |pmid=9846200}}</ref>