ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บูจินกัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Space Ranger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''บูจินกัน''' ({{ญี่ปุ่น|武神館|Bujinkan|บุจินคัง}}) เป็นโรงฝึก[[ศิลปะการต่อสู้]] ตั้งอยู่ที่เมือง[[โนะดะ]] [[จังหวัดชิบะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] ก่อตั้งโดย [[มะซะอะกิ ฮะซึมิ]]<ref>http://www.bujinkan.com/</ref>
โรงฝึกบูจินกันเป็นโรงฝึกศิลปะการต่อสู้โบราณของญี่ปุ่น มีวิชาถูกรวมไว้ทั้งหมด 9 วิชา ถูกเรียกชื่อรวมๆว่า บูจินกัน บูโด ไทจุสสึ ({{ญี่ปุ่น|武神館武道体術|Bujinkan Budō Taijutsu|บุจินคัง บุโด ไทจุตซี}})<ref>Phelan, Stephen. Lethal weapon: Hanging with the world's last living ninja. http://travel.cnn.com. 2011-10-12</ref>
 
== ชื่อของโรงฝึก ==
ชื่อของโรงฝึกบูจินกันถูกตั้งชื่อโดย มะซะอะกิ ฮะซึมิ เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ โทชิสึกึ ทะกะมัตสึ<ref>ประวัติอาจารย์มาซึอะกิ ฮะซึมิ. http://bujinkan-thailand.com/intro.htm</ref> อาจารย์ผู้สอนวิชาของท่านเอง แปลเป็นไทยว่า “โรงฝึกนักรบเทพ”<ref>อะไรคือ บูจินกัน บูโด ไทจุสสุ. http://www.bujinkan-thailand.com/intro.htm</ref>
 
*bu ({{ญี่ปุ่น|武|การรบ}})
บรรทัด 12:
 
== วิชาของบูจินกัน ==
บูจินกันมักถูกรู้จักกันดีในเรื่องของวิชานินจา หรือ[[นินจุตสึ]] แต่เดิมถูกเรียกว่า “บูจินกัน นินจุตสึ” แต่เนื่องจากวิชาของโรงฝึกบูจินกันไม่ได้มีเพียงแต่วิชาของนินจาเพียงอย่างเดียว มีวิชาของนินจุตสึ 3 วิชา และวิชาต่อสู้ของซามูไรอีก 6 วิชา<ref>Hatsumi, Masaaki. Unarmed Fighting Techniques of the Samurai. Kodansha USA. 2013. ISBN 978-1568365329</ref> จึงได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาใช้เป็น บูจินกัน บูโด ไทจุสสึ และใช้มามาจนถึงปัจจุบัน<ref>อะไรคือ บูจินกัน บูโด ไทจุสสุ. http://bujinkan-thailand.com/chidlom/bujinkan/</ref>
 
บูจินกัน บูโด ไทจุสสึ จึงประกอบไปด้วย 9 วิชาที่ มะซะอะกิ ฮะซึมิ ได้รับเป็นผู้สืบทอด<ref>Hatsumi, Masaaki. Ninjutsu: History and Tradition. Unique Publications. 1981. ISBN 978-0865680272</ref>
บรรทัด 26:
 
== บูจินกันในประเทศไทย ==
บูจินกันถูกนำเข้ามาในประเทศไทยโดย เอก โอสถหงษ์ ประมาณปี พ.ศ.2542 ซึ่งตอนนั้นใช้ชื่อกลุ่มฝึกบูจินกัน ประเทศไทย (Bujinkan Thailand Training Group) รับรองโดย ดักลาส วิลสัน (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ดัก วิลสัน) ชิโดชิจากประเทศญี่ปุ่น ต่อมาได้ปิดตัวลงไปในปี พ.ศ.2546 ซึ่งหลังจากนั้นในปี พ.ศ.2548 เอก โอสถหงษ์ ได้รับตำแหน่งชิโดชิ เดินทางกลับมาจากประเทศญี่ปุ่น ได้นำการฝึกเข้ามาอีกครั้งโดยเปิดใหม่เป็นโรงฝึกบูจินกัน ประเทศไทย (Bujinkan Thailand Dojo) และได้ทำการสอนมาอยู่จนถึงปัจจุบัน<ref>ประวัติโรงฝึกบูจินกัน ประเทศไทย. http://www.bujinkan-thailand.com/thailand.htm</ref>
 
== อ้างอิง ==