ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:Q328835
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ให้ดีขึ้น
บรรทัด 75:
สิ่งที่ก่อให้เกิดการทำงานอีกอย่างหนึ่งก็คือ ความสั่นสะเทือน ที่เกิดขึ้นได้เมื่อลูบนิ้วไปตามผิวของวัตถุ
นี้เป็นวิธีที่เราสามารถรู้สึกความหยาบละเอียดของผิววัตถุซึ่งมีขนาดเล็กว่า 200 [[ไมโครเมตร]] ได้
ความสั่นสะเทือนนี้มีความถี่ที่ 250&nbsp;[[เฮิรตซ์]] เป็นความถี่ที่ตัวรับแรงกลประเภท Pacinian corpuscle<ref>'''Pacinian corpuscle''' เป็นหนึ่งในตัวรับแรงกล (mechanoreceptor) หลัก 4 อย่าง เป็นปลายประสาทมีเปลือกหุ้มในผิวหนัง มีความไวต่อความสั่นสะเทือนและแรงกด (pressure) ความไวต่อความสั่นสะเทือนสามารถใช้เพื่อรับรู้ผิวของวัตถุว่าขรุขระหรือเรียบ</ref> มีความไวมากที่สุด<ref>Scheibert J, Leurent S, Prevost A, Debrégeas G. (2009) . The role of fingerprints in the coding of tactile information probed with a biomimetic sensor" ''Science'' 323 (5920) 1503-6.{{DOI|10.1126/science.1166467 }} PMID 19179493 </ref>
อย่างไรก็ดี ในความรู้สึกแต่ละประเภท หลักการที่ให้เกิดการทำงานในตัวรับความรู้สึกนั้นเหมือนกัน คือ [[การกระตุ้นที่เหมาะสม]] (adequate stimuli) ส่งผลให้เกิด[[การลดขั้ว]] (depolarization) ในปลายประสาท และหลังจากนั้น[[ศักยะงาน]]ก็จะเกิดขึ้น
ซึ่งก็จะเดินทางต่อไป (โดยปกติ) สู่[[ไขสันหลัง]]
บรรทัด 82:
งานวิจัยหลายงานได้ทำการวัดและสืบสวนถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรื่องความรู้สึกสัมผัสแบบละเอียด
ประเด็นงานวิจัยที่ได้รับการศึกษาเป็นอย่างดีเรื่องหนึ่งก็คือ '''ความรู้สึกของผิวสัมผัสโดยไม่ได้ทำเอง (passive tactile spatial acuity)''' ซึ่งก็คือความสามารถในการกำหนดรายละเอียดของวัตถุที่แนบอยู่กับผิวหนัง
มีวิธีการหลายอย่างที่ใช้วัดความสามารถนี้ แต่วิธีที่แม่นยำที่สุดอาจจะคือ การทดสอบหาทิศทางของวัตถุที่นำมาถู (grating orientation task)<ref>{{cite journal|last=Van Boven|first=R. W.|coauthors=Johnson, K. O.|title=The limit of tactile spatial resolution in humans: Grating orientation discrimination at the lip, tongue, and finger|journal=Neurology|date=1 December 1994|volume=44|issue=12|pages=2361–2361|doi=10.1212/WNL.44.12.2361}}</ref>
ในการทดสอบนี้ ผู้รับการทดสอบระบุทิศทางของพื้นผิววัตถุที่ทำเป็นร่อง<ref>{{cite journal | title=Grating orientation as a measure of tactile spatial acuity. | author=Craig JC. | journal=Somatosens Mot Res. | year=1999 | volume=16 | issue=3 | pages=197–206. | pmid=10527368}}</ref>
เป็นการทดสอบที่สามารถทำได้ด้วยมือหรือเครื่องอุปกรณ์อัตโนมัติ<ref>{{cite journal|last=Goldreich|first=D|coauthors=Wong, M; Peters, RM; Kanics, IM|title=A Tactile Automated Passive-Finger Stimulator (TAPS) .|journal=Journal of visualized experiments : JoVE|date=2009 Jun 3|issue=28|pmid=19578327|doi=10.3791/1374}}</ref>
 
งานวิจัยหลายงานแสดงว่า ''ความรู้สึกผิวสัมผัสโดยไม่ได้ทำเอง''มีความเสื่อมลงเมื่อมีอายุมากขึ้น<ref>{{cite journal|last=Stevens|first=JC|coauthors=Alvarez-Reeves, M; Dipietro, L; Mack, GW; Green, BG|title=Decline of tactile acuity in aging: a study of body site, blood flow, and lifetime habits of smoking and physical activity.|journal=Somatosensory & motor research|year=2003|volume=20|issue=3-4|pages=271–9|pmid=14675966|doi=10.1080/08990220310001622997}}</ref><ref>{{cite journal|last=Manning|first=Hélène|coauthors=Tremblay, FranÇois|title=Age differences in tactile pattern recognition at the fingertip|journal=Somatosensory & Motor Research|year=2006|volume=23|issue=3-4|pages=147–155|doi=10.1080/08990220601093460}}</ref><ref name="Goldreich_Kanics_2003">{{cite journal|last=Goldreich|first=D|coauthors=Kanics, IM|title=Tactile acuity is enhanced in blindness.|journal=Journal of neuroscience|year=2003|volume=23|issue=8|pages=3439–45|pmid=12716952}}</ref>
สาเหตุแห่งความเสื่อมนั้นยังไม่ชัดเจน แต่ว่าส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะการสูญเสีย[[ตัวรับความรู้สึก]]สัมผัสไปตามวัยโดยปกติ สิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งก็คือ ความรู้สึกผิวสัมผัสของนิ้วชี้ ปรากฏว่าดีกว่าในบุคคลที่มีนิ้วชี้เล็ก<ref name="Peters_etal_2009">{{cite journal|last=Peters|first=RM|coauthors=Hackeman, E; Goldreich, D|title=Diminutive digits discern delicate details: fingertip size and the sex difference in tactile spatial acuity.|journal=Journal of neuroscience|year=2009|volume=29|issue=50|pages=15756–61|pmid=20016091|doi=10.1523/JNEUROSCI.3684-09.2009}}</ref>
และมีหลักฐานที่บอกว่า ผลเกี่ยวกับขนาดของนิ้วอย่างนี้ เป็นเหตุแห่งความที่ผู้หญิงมี''ความรู้สึกของผิวสัมผัสโดยไม่ได้ทำเอง''ดีกว่าผู้ชายโดยเฉลี่ย<ref name="Peters_etal_2009" />
เพราะว่า ความหนาแน่นของตัวรับแรงกลชนิด Meissner's corpuscle (หรือเรียกว่า tactile corpuscle) ที่สามารถรับรู้ความสั่นสะเทือนแบบมี[[ความถี่]]ต่ำ มีระดับที่สูงกว่าในนิ้วที่เล็กกว่า<ref>{{cite journal|last=Dillon|first=YK|coauthors=Haynes, J; Henneberg, M|title=The relationship of the number of Meissner's corpuscles to dermatoglyphic characters and finger size.|journal=Journal of anatomy|year=2001|volume=199|issue=Pt 5|pages=577–84|pmid=11760888}}</ref>
และก็อาจจะเป็นนัยเดียวกันเกี่ยวกับตัวรับความรู้สึกประเภท Merkel cell ซึ่งตรวจจับร่องรอยที่อยู่กับที่ และมีความสำคัญในการรู้สึกผิวสัมผัสที่ละเอียดอ่อน<ref name="Peters_etal_2009" />
 
งานวิจัยหลายงานแสดงว่า ''ความรู้สึกของผิวสัมผัสโดยไม่ได้ทำเอง''ดีกว่าในคนตาบอดเทียบกับคนตาปกติในวัยเดียวกัน<ref name="Goldreich_Kanics_2003" /><ref>{{cite journal|last=Stevens|first=Joseph C.|coauthors=Foulke, Emerson; Patterson, Matthew Q.|title=Tactile acuity, aging, and braille reading in long-term blindness.|journal=Journal of Experimental Psychology: Applied|year=1996|volume=2|issue=2|pages=91–106|doi=10.1037/1076-898X.2.2.91}}</ref><ref>{{cite journal|last=Van Boven|first=RW|coauthors=Hamilton, RH; Kauffman, T; Keenan, JP; Pascual-Leone, A|title=Tactile spatial resolution in blind braille readers.|journal=Neurology|year=2000|volume=54|issue=12|pages=2230–6|pmid=10881245}}</ref><ref>{{cite journal|last=Goldreich|first=D|coauthors=Kanics, IM|title=Performance of blind and sighted humans on a tactile grating detection task.|journal=Perception & psychophysics|year=2006|volume=68|issue=8|pages=1363–71|pmid=17378422}}</ref><ref>{{cite journal|last=Wong|first=M|coauthors=Gnanakumaran, V; Goldreich, D|title=Tactile spatial acuity enhancement in blindness: evidence for experience-dependent mechanisms.|journal=Journal of neuroscience|year=2011|volume=31|issue=19|pages=7028–37|pmid=21562264|doi=10.1523/JNEUROSCI.6461-10.2011}}</ref>
ซึ่งอาจจะเป็นเพราะ[[สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท]] (cross modal plasticity) ของ[[เปลือกสมอง]]ในคนตาบอด
ซึ่งอาจจะเป็นเพราะสภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท (cross modal plasticity<ref>'''สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท (cross modal plasticity)''' เป็นการปรับการจัดระเบียบของนิวรอนเพื่อรวม[[ระบบประสาทรับความรู้สึก]]หลายระบบในการทำหน้าที่เดียวกัน เป็นสภาพพลาสติกของระบบประสาท (neuroplasticity) ประเภทหนึ่งที่มักเกิดขึ้นเมื่อระบบประสาทขาดข้อมูลความรู้สึกมีเหตุจากโรคหรือความเสียหายในสมอง การจัดระเบียบใหม่ของเครือข่ายนิวรอนอยู่ในระดับที่สูงสุดถ้าภาวะขาดความรู้สึกเป็นแบบระยะยาว เช่นความบอดแต่กำเนิด หรือความหนวกก่อนรู้ภาษา ในกรณีเช่นนี้ สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาทเป็นเหตุให้ระบบประสาทอื่นที่ไม่เสียหายมีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นทดแทนระบบประสาทที่เสียหายเช่นการเห็นและการได้ยิน การเพิ่มสมรรถภาพอย่างนี้เกิดจากการเชื่อมต่อทางประสาทใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นเชื่อมคอร์เทกซ์ที่ขาดข้อมูลความรู้สึกของตนไป</ref>) ของ[[เปลือกสมอง]]ในคนตาบอด
อีกอย่างหนึ่ง ก็อาจจะเป็นเพราะสภาพพลาสติกในคอร์เทกซ์เช่นกัน ที่คนตาบอดแต่กำเนิดสามารถประมวลข้อมูลสัมผัสได้รวดเร็วกว่าคนตาปกติ<ref>{{cite journal|last=Bhattacharjee|first=A|coauthors=Ye, AJ; Lisak, JA; Vargas, MG; Goldreich, D|title=Vibrotactile masking experiments reveal accelerated somatosensory processing in congenitally blind braille readers.|journal=Journal of neuroscience|year=2010|volume=30|issue=43|pages=14288–98|pmid=20980584|doi=10.1523/JNEUROSCI.1447-10.2010}}</ref>
 
บรรทัด 106:
ความรู้สึกผิดปกตินี้อาจจะขยายไปตามแขนขาตามลำดับ ส่องถึงการยิงสัญญาณผิดปกติของ[[นิวรอน]]ใน[[รอยนูนหลังร่องกลาง]] (postcentral gyrus) ซึ่งเป็นที่ที่การชักกำลังเป็นไป
เหตุการณ์ความรู้สึกที่คนไข้จำได้ในช่วงที่เกิดการชัก เป็นประโยชน์เพื่อวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับ[[คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย]]ได้
ถ้าคนไข้สามารถชี้แจงถึงลักษณะของการชักและความรู้สึกที่เกิดขึ้นในช่วงที่ชักได้<ref name="Human Neuroanatomy">{{cite book|last=Augustine|first=James R.|title=Human Neuroanatomy|year=2008|publisher=Academic Press|location=San Diego, CA|isbn=978-0-12-068251-5|pages=360}}</ref>
 
ความไม่รู้ถึง[[การรับรู้อากัปกิริยา|อากัปกิริยา]] (คือตำแหน่งของอวัยวะในร่างกายหรือการเคลื่อนไหวของอวัยวะเหล่านั้น) หรือไม่สามารถแยกแยะจุดสัมผัส (two point tactile discrimination) ในด้านหนึ่งของกายแสดงถึงความเสียหายใน[[คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ]] (primary somatosensory cortex) ในด้านตรงกันข้าม
ผลที่เกิดขึ้นอาจจะเป็นการขาดความรู้สึกในทั้งอวัยวะเช่นแขนขา หรือว่าในทั้งร่างกาย ขึ้นอยู่กับระดับความเสียหาย
ความผิดปกติชนิดหนึ่งที่เรียกว่า '''[[Astereognosis|ภาวะเสียการระลึกรู้โดยคลำ]] (Astereognosis)''' เป็นภาวะที่ไม่สามารถใช้ข้อมูลความรู้สึกสัมผัสในการระบุสิ่งของที่อยู่ในมือ