ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อหิงสา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อหิงสา''' หรือ '''อหึงสา''' ({{lang-sa|अहिंसा}}) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และใน[[ศาสนาแบบอินเดีย]]หลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์
{{รีไรต์}}
'''อหิงสา''' เป็นแนวคิดทาง[[ศาสนา]] คือการหลีกเลี่ยง[[ความรุนแรง]] และไม่เบียดเบียนหรือเคารพในชีวิตของผู้อื่น คำว่า "อหิงสา"(अहिंसा) เป็น[[ภาษาสันสกฤต]] แปลว่า ไม่[[หิงสา]] คือ ไม่เบียดเบียน อหิงสาเป็นแก่นใน[[ศาสนาพุทธ]] [[ศาสนาฮินดู]] และ [[ศาสนาเชน]] อหิงสามีการกล่าวไว้ในปรัชญาอินเดีย ประมาณ 800 ปี[[ก่อนพุทธศักราช]]
 
อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่งและเป็นความเชื่อสำคัญของศาสนาแบบอินเดียหลัก ([[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]]และ[[ศาสนาเชน]]) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทำร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทำร้ายตนเอง อหิงสายังเกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณบุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรัชญาจริยธรรมของศาสนาเชน [[มหาตมา คานธี]]ขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้า
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อหิงสา"