ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อหิงสา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phaween (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งให้ตรวจสอบความเป็นกลางเนื่องจากมีมุมมองทางการเมืองแฝงในบทความ
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนไปรุ่นที่ไม่มีการเมือง อหิงสาเป็นหลักศาสนา
บรรทัด 2:
'''อหิงสา''' เป็นแนวคิดทาง[[ศาสนา]] คือการหลีกเลี่ยง[[ความรุนแรง]] และไม่เบียดเบียนหรือเคารพในชีวิตของผู้อื่น คำว่า "อหิงสา"(अहिंसा) เป็น[[ภาษาสันสกฤต]] หมายถึงการหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บที่เรียกว่า[[หิงสา]] อหิงสาเป็นแก่นใน[[ศาสนาพุทธ]] [[ศาสนาฮินดู]] และ [[ศาสนาเชน]] อหิงสามีการกล่าวไว้ในปรัชญาอินเดีย ประมาณ 800 ปี[[ก่อนพุทธศักราช]]
 
ผู้ที่ยึดถือหลักอหิงสามักจะเป็น[[มังสวิรัติ]] อหิงสามันจะมีการอ้างถึงว่าเป็นวิธี[[การประท้วง]]แบบสันติที่ไม่ใช้ความรุนแรง เช่น
{{โครงพุทธศาสนา}}
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
1.การประท้วงในประเทศอินเดีย นำโดย มหาตมา คานธี เพื่อเรียกร้องให้อินเดียได้รับเอกราชกลับคืนสู่ประเทศและศักดิ์ศรีกลับคืนสู่ประชาชน
 
2.การประท้วงในประเทศแอฟริกาใต้ นำโดย เนลสัน แมนเดลา เพื่อต่อต้านการเหยียดผิวในประเทศแอฟริกาใต้
 
 
ในประเทศไทย ก็มีการชุมนุมหลายรูปแบบ ที่อ้างว่าใช้หลัก อหิงสา
 
เช่น การประท้วงรัฐบาลรักษาการณ์ของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นำโดย '''กบฏ สุเทพ เทือกสุบรรณ''' เพื่อเรียกร้องให้มีการยกเลิก '''พรบ นิรโทษกรรม''' แต่พอท่านนายกได้ยกเลิกไปแล้ว กบฏนายนี้ก็ยกเรื่องให้มีการปฏิรูปประเทศไทยซึ่งก่อนหน้านี้ตนเองก็เคยเป็นรัฐบาลที่ได้มาด้วยความไม่โปร่งใสประเด็นคือทำไมกบฏผู้นี้จึงไม่ปฏิรูปในสมัยที่ตนเป็นรัฐบาลกลับพึ่งมาเรียกร้องตอนตนเองแพ้เลือกตั้งมาแล้วกว่า20ปี โดยการไม่ฟังเสียงและไม่สนใจของเสียงส่วนมาก โดยอ้างว่ามีเสียงของมวลมหาประชาชนส่นใหญ่ทั่วทั้งประเทศจำนวนมากสนับสนุนตัวเองอยู่ แต่หารู้ไม่ว่าเป็นเพียงแค่การคิดไปเองที่จริงแล้วเป็นเพียงเสียงเล็กๆไม่ถึง 15% ของคนทั้งประเทศ และยังยั้วยุให้เกิดความรุนแรงภายในประเทศทำให้ประชาชนผู้รักประชาธิปไตรล้มตายไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งท่านนายกได้ใช้ความอดทนอดกลั้นยอมถอยไม่ยอมประทะเหมือนเหตุการ2553โดยการที่ท่านยอมยุบสภา ไม่เหมือนตอนเหตุการปี2553ที่ประชาชนขอแค่ให้รัฐบาลยุบสภาเพื่อเลือกตั้งใหม่แต่ตอนนั้นกบฏสุเทพและพวกเล็งเห็นว่าถ้าเลือกตั้งใหม่ตนเองก็จะแพ้ให้กับเสียงของประชาชนส่วนมากจึงทำให้กบฏผู้นี้สั่งสลายการชุมนุมทำให้ประชาชนล้มตายเป็นจำนวนมาก '''และที่สำคัญยังมีบุคคลซึ่งมีอำนาจและเงินตรามากมายค่อยหนุนหลังกบฏผู้นี้อยู่ซึ่งบุคคลเหล่านี้ล้วนเคยได้ผลประโยชน์ในขณะที่กบฎผู้นี้เคยเป็นรัฐบาลจึงทำให้เขาสามารถลอยหน้าลอยตาอยู่ได้ในสังคมจึงทำให้สังคมเป็นภัยเกิดความไม่หน้าอยู่'''
 
'''ข้อสังเกตอีกอย่างที่น่าสนใจและน่าสงสัยมานานมากแล้วว่าการรัฐประหารในประเทศไทยหลังจากการรัฐประหารจะมีพรรคการเมื่องอยู่พรรคหนึ่งที่ได้รับประโยชน์เต็มๆและเข้ามาเป็นรัฐบาลโดยการแต่งตั้งจากขณะปติวัดซึ่งตั้งแต่มีการรัฐประหารมายังไม่เคยมีพรรคการเมืองพรรคไหนยกเว้นพรรคนี้ได้เป็นรัฐบาลหลังการรัฐประหาร
'''
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ
[[หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{Link GA|en}}
{{ตรวจความเป็นกลาง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อหิงสา"