ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาบู่มหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
T phubate (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 54:
== กิจกรรมเกี่ยวกับปลาบู่มหิดล ==
 
เทศบาลตำบลปากน้ำแหลมสิงห์ โดยความร่วมมือจาก "โครงการจัดตั้งศูนย์การศึกษานิเวศวิทยาแหล่งที่พบปลาบู่มหิดล" (นำโดย ดร.ศุภกฤต โสภิกุล, ดร.ทักษ์ ทองภูเบศร์ และคณะทำงาน) ภายใต้การดำเนินการของบุคลากรประกอบด้วย อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาในคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดทำศูนย์การเรียนรู้เรื่อง "ปลาบู่มหิดล" ขึ้นในพื้นที่อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี โครงการดังกล่าวมีรูปแบบเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เกี่ยวกับมิติทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการฟื้นฟูระบบนิเวศวิทยาพื้นที่แหล่งกำเนิดปลาบู่มหิดล <ref>ศุภกฤต โสภิกุล. (2552). เอกสารประกอบการบรรยายการจัดตั้งเครือข่ายสหวิทยาการแห่งราชบัณฑิตยสถาน ภาคตะวันออก (โครงการนำร่องการจัดทำเขตอนุรักษ์ปลาบู่มหิดลในแหลมสิงห์). ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร.</ref> ฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย<ref>[http://chm-thai.onep.go.th/RedData/Default.aspx?DetailOf=Mahidolia%20mystacena อีกทั้งฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย]: Vulnerable (VU) ประเภทปลา</ref> ได้บันทึกว่า ปัจจุบันปลาบู่มหิดลมีแนวโน้มใกล้จะสูญพันธุ์
 
อย่างไรก้อตาม ปลาบู่มหิดล สามารถเป็นสัญลักษณ์ที่มีชีวิตอย่างหนึ่ง ที่แสดงการร้อยเรียง เกี่ยวโยงกันของคนไทยที่จงรักภักดีต่อองค์พระบิดา ดังที่เราๆ ท่านๆ ได้พบเห็นในวันมหิดล ยิ่งกว่านั้นสัญลักษณ์ที่มีชีวิตนี้ยังเป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ (bio-indicator) ที่บ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของพื้นที่อาศัย จึงเป็นโอกาสดีที่จะยึดโยงเอา ปลาบู่มหิดล บอกกล่าวให้ชาวเราคนไทยที่จงรักภักดีต่อ พระบิดา ให้รักษ์ธำรงค์ไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมที่เหมาะกับการดำรงชีพอยู่ของปลาบู่มหิดล ... สัญลักษณ์นี้ อย่างสำคัญ ต่อไป
 
== อ้างอิง ==