ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามลายูปัตตานี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nengmymao (คุย | ส่วนร่วม)
ตาปงตายา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 156:
==คำศัพท์==
นอกจากคำศัพท์พื้นฐานของภาษามลายูแล้ว ภาษามลายูปัตตานีมีคำยืมจากภาษาอื่นหลายภาษา ได้แก่<ref>ประพนธ์, 2540</ref>
* [[ภาษาสันสกฤต]] เข้ามาพร้อมกับ[[ศาสนาพุทธ]] เช่น ภาษา เป็น ''บาฮาซอ'', หฤทยะ เป็น ''ฮาตี'', คช (ช้าง) เป็น ''กฺาเยฺาะฮกฺเยฺะฮ''
* [[ภาษาอาหรับ]] เข้ามาพร้อมกับ[[ศาสนาอิสลาม]] เช่น กอลัม (ปากกา) เป็น ''กาแล'', ตะมัร (อินทผาลัม) เป็น ''ตามา'', อาลัม (โลก) เป็น ''อาแล''
* [[ภาษาเขมร]] เช่น กำปง (หมู่บ้าน) เป็น ''กาปง''
* [[ภาษาจีน]] เช่น กุยช่าย เป็น ''กูจา''
* [[ภาษาชวา]] เช่น มาลัม (กลางคืน) เป็น ''มาแล''
* [[ภาษาเปอร์เซีย]] เช่น มะตับ (แสงจันทร์) เป็น ''มะตับ'', ฆันดุม (แป้ง) เป็น ''กฺานงกฺนง''
* [[ภาษาฮินดี]] เช่น โรตี
* [[ภาษาทมิฬ]] เช่น มานิกัม (เพชร) เป็น ''มานิแก''
* [[ภาษาอังกฤษ]] เช่น glass (แก้ว) เป็น ''กฺือละฮกฺอละฮ'', ฟรี เป็น ''ปือรี'', มอเตอร์ไซค์ เป็น ''มูตูซีกา''
* [[ภาษาไทย]] เช่น นายก เป็น ''นาโยฺะ'', ปลัด เป็น ''บือละ'', มักง่าย เป็น ''มะงา''
 
บรรทัด 195:
 
===ความต่างของไวยากรณ์===
* ภาษามลายูปัตตานีคัดคำอุปสรรคที่ไม่จำเป็นออก เช่น {{lang|ms|'''''ber'''jalan''}} (เดิน) ในภาษามาเลเซีย เป็น 'ยฺาแลยฺแล ในภาษามลายูปัตตานี
* ภาษามลายูปัตตานีใช้คำง่ายกว่า เช่น มาแก ใช้ได้ทั้ง กินข้าว ดื่มน้ำ สูบบุหรี่ แต่ภาษามาเลเซียแยกเป็น {{lang|ms|''makan''}} (กิน), {{lang|ms|''minum''}} (ดื่ม) และ {{lang|ms|''hisap''}} (สูบ)
* ภาษามาเลเซียมีการแยกระดับของคำมากกว่า เช่น ผู้ชายใช้ {{lang|ms|''laki-laki''}} สัตว์ตัวผู้ใช้ {{lang|ms|''jantan''}} ส่วนภาษามลายูปัตตานีใช้ ยฺาแตยฺแต กับทั้งคนและสัตว์ ส่วน ลือลากี มีใช้น้อย
* ภาษามลายูปัตตานีมีการเรียงคำแบบภาษาไทยมากกว่า เช่น ทำนา ใช้ บูวะบือแ<u>น</u>