ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตลาด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pakornmi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pakornmi (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 102:
| quote =
}}</ref> นอกจากนี้ การตลาดรูปแบบใหม่นี้ได้ใช้อินเทอร์เน็ตซึ่งเรียกว่า การตลาดผ่านอินเทอร์เน็ต(Internet Marketing) หรืออีกหลายชื่อ ตัวอย่างเช่น การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-marketing), การตลาดออนไลน์ (online marketing), การตลาดดิจิตอล (digital marketing) ที่หมายถึงการตลาดผ่านเว็บไซต์ค้นหาข้อมูล (search engine website) , การโฆษณาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ (desktop advertising) การตลาดยุคสมัยใหม่นี้พยายามทำกลยุทธ์การแบ่งกลุ่มลูกค้าให้เป็นไปอย่างสมบูรณ์ซึ่งถือเป็นกระบวนการหนึ่งของการตลาดแบบดั้งเดิม อีกทั้งยังเป็นการกำหนดกลุ่มเป้าหมายให้มีความแม่นยำชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งในบางครั้งเรียกว่า การตลาดเฉพาะบุคคล (personalized marketing) หรือการตลาดแบบหนึ่งสินค้าต่อหนึ่งลูกค้า (one-to-one marketing) อีกประการหนึ่ง การตลาดผ่านอินเทอร์เน็ตนั้นบางครั้งถูกพิจารณาในมุมกว้างมากขึ้น เพราะว่าการตลาดผ่านอินเทอร์เน็ตนั้นไม่ได้หมายถึงการทำตลาดอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการตลาดผ่านอีเมล สื่อไร้สาย และการผลักดันผู้คนที่ได้บริโภคสื่ออย่างวิทยุ ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ซึ่งเป็นการตลาดแบบดั้งเดิมเข้าไปสู่อินเทอร์เน็ตหรือหน้าเว็บไซต์ต่างๆอีกด้วย
 
{| class="wikitable"
|+
|-
! style="width:10%;" | แนวคิด
! style="width:10%;" | ตัวขับเคลื่อน<br />ผลกำไร
! style="width:10%;" | กรอบเวลาของโลกตะวันตก
! style="width:70%;" | คำอธิบาย
|-
| style="text-align:center;" | '''การตลาดความสัมพันธ์/การจัดการความสัมพันธ์'''<ref name="adcock-b" />
| style="text-align:center;" | การสร้างและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้า
| style="text-align:center;" | คริสต์ทศวรรษ 1960 ถึงปัจจุบัน
| เน้นความสัมพันธ์โดยรวมระหว่างผู้จัดจำหน่ายและลูกค้าโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการลูกค้าในสิ่งที่ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้พร้อมทั้งสร้างความจงรักภักดีของลูกค้า
|-
| style="text-align:center;" | '''การตลาดเชิงธุรกิจ/การตลาดเชิงอุตสาหกรรม'''
| style="text-align:center;" | การสร้างและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กร
| style="text-align:center;" | คริสต์ทศวรรษ 1980 ถึงปัจจุบัน
| ในการทำการตลาดระหว่างธุรกิจหรือองค์กรนั้น ผลิตภัณฑ์ที่สำคัญจะเน้นด้านสินค้าที่ใช้ในอุตสหกรรม (Industrial goods) เช่น วัตถุดิบในการผลิต เป็นต้น หรือสินค้าประเภททุน (Capital goods) เช่น เครื่องจักรในการผลิต เป็นต้น โดยจะเน้นในสองประเภทนี้มากกว่าสินค้าอุปโภคบริโภค (customer products / end products) รวมถึงกิจกรรมทางการตลาดต่างๆทั้งการจัดโปรโมชั่น การโฆษณา และการสื่อสารกับลูกค้านั้นก็จะแตกต่างกันด้วย
|-
| style="text-align:center;" | '''การตลาดเชิงสังคม'''<ref name="adcock-b" />
| style="text-align:center;" | คุณประโยชน์ต่อสังคม
| style="text-align:center;" | คริสต์ทศวรรษ 1990 ถึงปัจจุบัน
| มีคุณลักษณะคล้ายกับการทำการตลาดโดยทั่วไปแต่มีเงื่อนไขเพิ่มเติมว่า จะต้องเป็นกิจกรรมทางการตลาดที่ลดความเป็นอันตรายต่างๆที่จะเกิดต่อสังคม ทั้งตัวสินค้า กระบวนการผลิตสินค้า และกระบวนการขาย
|-
| style="text-align:center;" | '''การสร้างตราสินค้าหรือแบรนด์'''
| style="text-align:center;" | คุณค่าของตราสินค้าหรือแบรนด์
| style="text-align:center;" | คริสต์ทศวรรษ 1980 ถึงปัจจุบัน
| ในบริบทนี้ การสร้างตราสินค้าหรือแบรนด์จะสะท้อนถึงปรัชญาของบริษัท และการตลาดเป็นเสมือนเครื่องมือหนึ่งของของการสร้างตราสินค้าด้วย
|}
 
== อ้างอิง ==