ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐกิจพอเพียง"
→หลักปรัชญา
ล (fixing dead links) |
|||
[[อภิชัย พันธเสน]] ผู้อำนวยการ[[สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม]] ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดำรัสหนึ่ง ได้ให้คำอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"<ref>[[อภิชัย พันธเสน]], ''พุทธเศรษฐศาสตร์: วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่าง ๆ'', สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2547.</ref>
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึง
ซึ่ง ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า "หลาย ๆ คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ"<ref name="ทางเลือก52">สุเมธ ตันติเวชกุล. ''เศรษฐกิจพอเพียง ทางเลือก... ทางรอด''.; ใน เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2549). '''ผ่าอนาคตประเทศไทย 2552'''. บริษัท ฐานการพิมพ์ จำกัด. หน้า 52.</ref> และ "การลงมือทำด้วยความมีเหตุมีผล เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง"<ref>สุเมธ ตันติเวชกุล. ''เศรษฐกิจพอเพียง ทางเลือก... ทางรอด''.; ใน เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2549). '''ผ่าอนาคตประเทศไทย 2552'''. บริษัท ฐานการพิมพ์ จำกัด. หน้า 55.</ref>
|