ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐกิจพอเพียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|ทฤษฎีใหม่}}
'''เศรษฐกิจพอเพียง'''
เป็น[[ปรัชญา]]ที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]มีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2517]] เป็นต้นมา<ref name="king-words-ku-2517">[http://www.sa.ku.ac.th/king-spku/2517-1.htm ''พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์'']ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗</ref><ref name="king-words-2517">พระราชกระแสรับสั่งในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่ผู้เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาแต่พระพุทธศักราช 2517, อ้างใน ว.วชิรเมธี, [http://web.archive.org/20070810182030/dnfe5.nfe.go.th/localdata/webimags/story248Self-economic.html ''ความสับสนเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง''], เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 763 วันที่ 12-18 มกราคม พ.ศ. 2550</ref> และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไข[[วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540|ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย]] ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแส[[โลกาภิวัตน์]]และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ<ref name="CSE-phil">[http://web.archive.org/20070310183827/cse.nida.ac.th/phil.htm ศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]</ref>
เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น [[ประเวศ วะสี|ศ.นพ.ประเวศ วะสี]], [[เสน่ห์ จามริก|ศ.เสน่ห์ จามริก]], [[อภิชัย พันธเสน|ศ.อภิชัย พันธเสน]], และ[[ฉัตรทิพย์ นาถสุภา|ศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา]] โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ[[วัฒนธรรมชุมชน]] ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดย[[องค์กรพัฒนาเอกชน]]จำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย
บรรทัด 37:
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย|รัฐธรรมนูญของไทย]] เช่น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ในส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) ความว่า:'' "บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตาม'''ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง'''และคำนึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ"''
 
[[สุรเกียรติ เสถียรไทย|นายสุรเกียรติ เสถียรไทย]] ในฐานะรัฐมนตรี[[กระทรวงต่างประเทศ]] ได้กล่าวเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The Francophonie Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่ Burkina Faso ว่า ประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ "[[การพัฒนาแบบยั่งยืน]]" ในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านการเกษตรกรรม เศรษฐกิจ และการแข่งขัน ซึ่งเป็นการสอดคล้องเป้าหมายแนวทางของนานาชาติในประชาคมโลก โดยยกตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปัญหาสามารถทำให้[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ]] ของไทยเติบโตได้ถึงร้อยละ 6.7<ref name="mfa-20041124">[http://web.archive.org/20110714035737/www.mfa.go.th/web/200.php?id=3219 Statement by H.E. Dr. Surakiat Sathirathai, Minister of Foreign Affairs of Thailand at the Luncheon held at upon the occasion of Ministerial Meeting of the Tenth Summit of the Francophonie Ouagadougou], Burkina Faso, 24 November 2004</ref>
{{โครงส่วน}}