ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพเหมือนตนเอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Freshy587 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
[[ไฟล์:Albrecht-self.jpg|thumb|right|260px|ภาพเหมือนตนเองของ[[อัลเบรชท์ ดือเรอร์]], ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, [[พิพิธภัณฑ์ลูฟร์]], [[ปารีส]] ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรกๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล]]
'''ภาพเหมือนตนเอง''' ({{lang-en|Self-portrait}}) คือ[[ภาพเหมือน]]ของศิลปินเองผู้อาจจะวาด, เขียนด้วยสี, ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริงๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้น[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]ในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการ[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ เขียนภาพเหมือน]บน[[จิตรกรรมแผง]] จิตรกร, ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ “''[[ภาพเหมือนชาย (ภาพเหมือนตนเอง?)]]''” ที่โดย [[ยาน ฟาน เอค]] ของปี ค.ศ. 1433 ซึ่งเป็นภาพเหมือนตนเองภาพแรกที่มีหลักฐานให้เห็น<ref>Campbell, Lorne; National Gallery Catalogues (new series) : ''The Fifteenth Century Netherlandish Paintings'', pp 212-17, 1998, ISBN 185709171</ref> อีกภาพหนึ่งที่ฟาน เอคเขียนเป็นภาพของภรรยา นอกจากนั้นฟาน เอคก็ยังเป็นสมาชิกของกลุ่มที่เริ่มจะรับงานเขียนภาพเหมือนโดยทั่วไป ที่เริ่มจะเป็นงานจ้างที่นิยมกันในบรรดาผู้มีอันจะกินชาวเนเธอร์แลนด์ แต่ก็มิได้มาเป็นที่นิยมกันโดยทั่วไปจนกระทั่งมาถึง[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]เมื่อผู้คนมีฐานะมั่งคั่งมากขึ้น และความสนใจในการใช้ตัวแบบเป็นหัวข้อของการเขียนมีเพิ่มมากขึ้น<ref name="research.umbc.edu">[http://www.research.umbc.edu/~ivy/selfportrait/back.html accessed online July 28, 2007 an online history of self portraits various excerpts from Edward Lucie-Smith and Sean Kelly, The Self Portrait: A Modern View (London: Sarema Press, 1987)]</ref>
 
== ประวัติของการเขียนภาพเหมือนตนเอง ==
บรรทัด 8:
 
=== ภาพเหมือนตนเองในยุคแรก ===
ภาพเหมือนตนเองที่อาจจะเป็น[[ภาพเหมือน]]ของศิลปิน มักจะเขียนเป็นส่วนหนึ่งของงานชิ้นใหญ่ หรือภาพเหมือนหมู่ เชื่อกันว่าจิตรกรหลายคน[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ วาดภาพเหมือน]ของคนบางคนหรือของตนเองผสานลงไปในภาพเขียนทางศาสนาหรือภาพเขียนประเภทอื่นที่มิได้จงใจจะให้เป็นภาพเหมือนของผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ<ref>Campbell, Lorne, ''Renaissance Portraits, European Portrait-Painting in the คริสต์ศตวรรษที่ 14, 15th and 16th Centuries'', pp. 3-4, 1990, Yale, ISBN 0300046758</ref> การวาดลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะเป็นใบหน้าในบรรดาหมู่คน และมักจะอยู่ตรงมุมภาพ ภาพเขียนอีกประเภทหนึ่งที่นิยมสอดแทรกบุคคลร่วมสมัยและจิตรกรเองเข้าไปในภาพคือภาพประวัติศาสตร์ ที่ทำให้ภาพกลายเป็นทั้งภาพเหมือนและ[[จิตรกรรมประวัติศาสตร์|ภาพประวัติศาสตร์]] ทั้ง[[ปีเตอร์ พอล รูเบนส์]] และ [[แรมบรังด์]]เขียนภาพประเภทนี้<ref> Eg, respectively, the ''four Philosophers'' and the ''Prodigal Son'' ( [[Gemäldegalerie Alte Meister]], Dresden) </ref> ที่ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ออกมาในรูปของภาพเขียนโดย[[ยาน เดอ เบรย์]] หรืองานภาพถ่ายของ[[Cindy Sherman|ซินดี เชอร์แมน]] นอกจากการเขียนด้วยสีแล้วก็ยังมีการใช้การวาดเส้น และการพิมพ์ใน[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ การเขียนภาพเหมือน]ตนเองด้วย
 
ศิลปินบางคนวางรูปของตนเองท่ามกลางกลุ่มคนในภาพเช่นงานเขียนของ[[ยาน ฟาน เอค]]ในภาพ “''[[ภาพเหมือนอาร์โนลฟินิ]]''” ที่มีอิทธิพลต่อภาพ “''[[Las Meninas|นางสนองพระโอษฐ์]]''” โดย [[เดียโก เบลัซเกซ]]<ref>Campbell, Lorne; National Gallery Catalogues (new series) : ''The Fifteenth Century Netherlandish Paintings'', pp 180, 1998, ISBN 185709171. The ''Arnolfini Portrait'' hung in the same palace in Madrid in which ''Las Meninas'' was painted</ref> ต่อมาการ[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ เขียนภาพเหมือน]ของกลุ่มหรือครอบครัว หรือ กลุ่มสมาคม ก็ค่อยมาเป็นสิ่งที่ทำกันโดยทั่วไปมากขึ้น
 
ภาพเหมือนตนเองที่จิตรกรแทรกภาพเหมือนตนเองเข้าไปในภาพใหญ่
บรรทัด 57:
[[เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร]]มักจะมีภาพเหมือนตนเองโดยเฉพาะในงานเขียนของ[[นักบุญดันสตัน]] และ [[แม็ทธิว แพริส]] ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นภาพจิตรกรขณะที่กำลังเขียนภาพหรือไม่ก็เสนองานที่เขียนเสร็จแก่[[ภาพเหมือนผู้อุทิศ|ผู้อุทิศ]]หรือต่อผู้ศักดิ์สิทธิ์<ref>Jonathon Alexander; ''Medieval Illuminators and their Methods of Work''; p.8-34, Yale UP, 1992, ISBN 0300056893 collects several examples</ref>
 
เชื่อกันว่า[[อันเดรอา ออร์ชานยา]][http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ เขียนภาพเหมือน]ตนเองแทรกเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ[[จิตรกรรมฝาผนัง]]ที่เขียนในปี ค.ศ. 1359 ซึ่งเป็นการบันทึกอย่างน้อยก็ตามที่[[นักประวัติศาสตร์ศิลป์]][[จอร์โจ วาซารี]]กล่าวว่าเป็นสิ่งที่จิตรกรมักจะนิยมทำกัน ในอิตาลี[[จอตโต ดี บอนโดเน]] (ค.ศ. 1267-ค.ศ. 1337) [http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ วาดภาพตนเอง]ในภาพชุด “eminent men” ในปราสาทที่เนเปิลส์, [[มาซาชิโอ]] (ค.ศ. 1401-ค.ศ. 1428) วาดภาพตนเองเป็นหนึ่งในอัครสาวกในจิตรกรรมฝาผนังภายใน[[ชาเปลบรันคาชชิ]] และ [[เบนนอซโซ กอซโซลิ]]วาดภาพตนเองกับภาพเหมือนของผู้อื่นในภาพ “ขบวนแมไจ” (Procession of the Magi) (ค.ศ. 1459) ใน[[Palazzo Medici|วังเมดิชิ]] โดยเขียนชื่อไว้บนหมวก สองสามปีต่อมา[[ซานโดร บอตติเชลลี]]ก็เลียนแบบเขียนตนเองเป็นผู้ชื่นชมคนหนึ่งในภาพ “การชื่นชมของแมไจ” ผู้หันมามองตรงมายังผู้ชมภาพ (ค.ศ. 1475)
 
ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ก็มีรูปเหมือนแกะท่อนบนของและโดย[[ปีเตอร์ พาร์เลอร์]] ใน[[มหาวิหารปราก]]รวมภาพเหมือนตนเองและเป็นหนึ่งในบรรดารูปท่อนบนรูปแรกๆ ที่ไม่ใช่รูปท่อนบนของพระราชวงศ์ [[ลอเร็นโซ กิเบอร์ติ]]รวมรูปปั้นศีรษะของตนเองบนบานประตู [[หอล้างบาปซันโจวันนี]]ใน[[ฟลอเรนซ์]]
บรรทัด 79:
<gallery>
ไฟล์:Self-portrait_at_13_by_Albrecht_Dürer.jpg|<center>ดือเรอร์เมื่ออายุ 13 ปี<br>ค.ศ. 1484</center>
ไฟล์:Self-portrait-with-a-pillow-1103-mid.jpg|<center>ดือเรอร์เมื่ออายุราว 20 ปี<br>ค.ศ. 1491–1492<br>[[[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/category/1/%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%AD ภาพวาดลายเส้น]]]<br>พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน</center>
ไฟล์:Albrecht-self.jpg|<center>ดือเรอร์<br>ค.ศ. 1493<br>[[จิตรกรรมสีน้ำมัน]] เดิมเขียนบนหนัง<br>พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, [[ปารีส]]</center>
ไฟล์:Duerer01.jpg|<center>[[ภาพเหมือนตนเอง (ดือเรอร์)|ภาพเหมือนตนเอง]]<br>ภาพสุดท้ายของดือเรอร์<br>ค.ศ. 1500—แบบพระเยซู</center>
บรรทัด 87:
[[จิตรกรชั้นปรมาจารย์]]ของอิตาลีของ[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี|ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]มีเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่เขียนภาพเหมือนตนเองไว้อย่างเป็นทางการ ส่วนใหญ่แล้วก็จะเขียนภาพของตนรวมไว้ในภาพเขียนใหญ่ ภาพเหมือนตนเองที่เขียนก็เป็นภาพเขียนที่ตรงไปตรงมาไม่มีการจัดท่าตั้งท่าเช่นที่ทำกันในสมัยต่อมา การเขียนแบบที่นอกแนวออกไปเช่นที่ดือเรอร์ทำก็แทบจะไม่มีผู้ใดทำตาม นอกไปจาก “ภาพเหมือนตนเองในบทเดวิด” ของ[[จอร์โจเน]] (ถ้าเป็นภาพเหมือนตนเองจริง) ภาพเหมือนที่มีอยู่ก็ได้แก่ภาพเหมือนของ[[เปียโตร เปรูจิโน]]ที่เขียนราว ค.ศ. 1500 และภาพของ[[พาร์มิจานิโน]]ที่เป็นภาพเขียนเป็นเหมือนกระจากนูน และภาพเหมือนตนเองที่เป็นภาพวาดลายเส้นโดย[[เลโอนาร์โด ดา วินชี]] (ค.ศ. 1512) <ref> This drawing in red chalk is widely (though not universally) accepted as an original self portrait. The main reason for hesitation in accepting it as a portrait of Leonardo is that the subject is apparently of a greater age than Leonardo ever achieved. But it is possible that he drew this picture of himself deliberately aged, specifically for Raphael's portrait of him in the [[School of Athens]]. A case has also been made, originally by novelist Dmitry Merezhkovsky, that Leonardo based his famous picture ''[[Mona Lisa]]'' on his own self-portrait.</ref> และภาพเหมือนตนเองที่เป็นส่วนหนึ่งของภาพเขียนใหญ่ของ[[มีเกลันเจโล]] ผู้เขียนใบหน้าของตนเองบนหนังที่ถูกถลกออกมาจากร่างของ[[นักบุญบาร์โทโลมิว]]ในภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” ภายใน[[ชาเปลซิสติน]] (ค.ศ. 1536-ค.ศ. 1541) และ [[ราฟาเอล]] ที่ปรากฏในภาพ “[[โรงเรียนแห่งเอเธนส์ (ราฟาเอล)|โรงเรียนแห่งเอเธนส์]]” (ค.ศ. 1510) หรือภาพที่เกาะไหล่เพื่อน (ค.ศ. 1518) นอกจากนั้นภาพอื่นที่เด่นก็ได้แก่ภาพเหมือนของ[[ทิเชียน]]ที่เขียนเป็นชายสูงอายุที่เขียนเมื่อคริสต์ทศวรรษ 1560, [[เพาโล เวโรเนเซ]]ปรากฏเป็นนักเล่นไวโอลินใส่เสื้อสีขาวในภาพ “การแต่งงานที่คานา” โดยมีทิเชียนเล่น [[bass viol]] (ค.ศ. 1562) จิตรกรทางตอนเหนือของยุโรปจะนิยมเขียนภาพเหมือนมากกว่าจิตรกรในอิตาลี ที่มักจะวางท่าเดียวกับภาพชาวเมืองผู้มีอันจะกินอื่นๆ ที่เป็นลูกค้าผู้มาว่าจ้างให้วาด
 
ภาพ “[[อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)|อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ]]” (ราว ค.ศ. 1565-1570) โดย[[ทิเชียน]]เชื่อว่าเป็นภาพของทิเชียน, โอราซิโอลูกชาย และหลานมาร์โค เวเชลลิโอ<ref>Erwin Panofsky (and originally Fritz Saxl), Titian's "Allegory of Prudence, A Postscript'', in ''Meaning in the Visual Arts'', Doubleday/Penguin, 1955 </ref> นอกจากภาพนี้แล้วทิเชียนก็ทิเชียนก็[http://www.วาดภาพเหมือน.com เขียนภาพเหมือน]ตนเองอีกในปี ค.ศ. 1567 ที่เป็นภาพแรก [[คาราวัจโจ]]เขียนภาพเหมือนตนเองเมื่อเริ่มเป็นจิตรกรใหม่ๆ ในภาพ “[[บาคคัส (คาราวัจโจ)|บาคคัส]]” ต่อมาก็เขียนเป็นตัวประกอบในภาพเขียนที่ใหญ่กว่า และในที่สุดก็เขียนตนเองเป็นหัวของ[[โกไลแอธ]]ที่เดวิดถือในภาพ “[[เดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)|เดวิดกับหัวโกไลแอธ]]” (ค.ศ. 1605-ค.ศ. 1610, [[หอศิลป์บอร์เกเซ]], โรม)
 
<Gallery>
บรรทัด 99:
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จิตรกร[[ฟลานเดอร์ส|เฟล็มมิช]]และ[[ชาวดัตช์|ดัตช์]]เขียนภาพของตนเองมากกว่าจิตรกรในประเทศอื่นในยุโรป ในช่วงเวลานี้จิตรกรผู้มีชื่อเสียงก็จะมีฐานะทางสังคมดีพอที่จะต้องการที่จะมีภาพเขียนของตนเองเอาไว้เช่นเดียวกับผู้อยู่ฐานะเท่าเทียมกันในสังคม นอกจากเขียนภาพตนเองแล้วจิตรกรก็ยังอาจจะเขียนภาพของภรรยาและบุตรธิดา หรือญาติพี่น้องเช่นเดียวกับพฤติกรรมของชนชั้นกลางโดยทั่วไปในขณะนั้น [[แอนโทนี แวน ไดค์]] และ [[ปีเตอร์ พอล รูเบนส์]]ต่างก็เขียนภาพของตนเองเป็นจำนวนหลายภาพ โดยเฉพาะรูเบนส์ผู้นอกจากจะเขียนภาพของตนเองแล้วก็ยังเขียนภาพของครอบครัวด้วย
 
[[แรมบรังด์]]เป็นจิตรกรผู้[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ เขียนภาพเหมือน]ตนเองมากที่สุดคนหนึ่ง และบางครั้งก็จะเขียนภาพของภรรยา, ลูกชาย และภรรยาน้อย เดิมเชื่อกันว่าแรมบรังด์เขียนภาพเหมือนตนเองราวเก้าสิบภาพ แต่ต่อมาก็เป็นที่ทราบกันว่าภาพบางภาพเป็นภาพก็อปปีโดยลูกศิษย์ที่แรมบรังด์ให้ทำเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกหัด เมื่อแยกภาพเหล่านี้ออกไปแล้วนักวิชาการสมัยใหม่เชื่อกันว่าแรมบรังด์เขียนภาพเหมือนตนเองราวสี่สิบภาพ และภาพวาดเส้นอีกสองสามภาพ รวมทั้ง[[etching|ภาพพิมพ์]]อีกสามสิบเอ็ดภาพ ภาพเขียนหลายภาพเป็นภาพที่แรมบรังด์แต่งตัวแบบกึ่งโบราณอย่างหรูหรา ภาพเขียนเหล่านี้แสดงความก้าวหน้าในชีวิตที่เริ่มตั้งแต่ภาพของจิตรกรหนุ่มไปจนถึงศิลปินผู้ประสบความสำเร็จกับการ[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ เขียนภาพเหมือน]ในคริสต์ทศวรรษ 1630 และต่อไปยังชายสูงอายุผู้ดูจะมีเรื่องครุ่นคิด แต่ก็เป็นผู้มีความสามารถที่ไม่มีผู้ใดเทียมได้<ref>For this section and the gallery, Ernst van de Wetering in '' Rembrandt by himself'', p.10 and passim, 1999, National Gallery, London/Mauritshuis, The Hague, ISBN 1857092708</ref>
<gallery>
ไฟล์:Rembrandt_-_Self-Portrait_-_WGA19206.jpg|<center>ราว ค.ศ. 1628<br>เมื่ออายุ 22 ปี<br>แสดงการใช้[[ค่าต่างแสง]]<br>[[พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัม]]</center>
บรรทัด 113:
=== หลังสมัยแรมบรังด์ ===
[[ไฟล์:VanGogh-self-portrait-with bandaged ear.jpg|thumb|left|200px|ภาพเหมือนตนเองของ[[ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]]พันหัวด้วยผ้าพันแผลหลังจากที่สันนิษฐานกันว่าตัดหูตนเอง]]
ในสเปนก็มีภาพเหมือนตนเองของ[[บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูรีโย]] และ [[เดียโก เบลัซเกซ]] ส่วน[[ฟรันซิสโก ซูร์บาราน]]เขียนตนเองเป็น[[นักบุญลูค]] ที่เท้าของพระเยซูบนกางเขน (ราว ค.ศ. 1635) ในคริสต์ทศวรรษ 1800 [[ฟรันซิสโก โกยา]]เขียนภาพตนเองหลายภาพ ภาพเหมือนตนเองหลังจากสมัย[[นิโคลาส์ ปูแซน]]มักจะแสดงฐานะทางสังคมของศิลปิน แต่ก็มีบางคนที่เขียนภาพในเครื่องแต่งกายที่ใช้เมื่อเขียนภาพเช่น[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ ภาพเหมือน]ตนเองของ[[ฌอง-บัพทิสต์-ซิเมออง ชาร์แดง]] จิตรกรที่เขียนภาพเหมือนตนเองในคริสต์ศตวรรษที่ 18 มักจะเขียนทั้งภาพในเครื่องแต่งกายอย่างเป็นทางการและเครื่องแต่งกายอย่างลำลอง ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าจิตรกรเกือบทุกคนที่สำคัญจะทิ้งภาพเหมือนตนเองเอาไว้อย่างน้อยก็ภาพหนึ่ง แม้ว่าจะหลังจากสมัยที่ความนิยมในการวาดภาพเหมือนตนเองจะลดถอยลงไปเมื่อมีวิวัฒนาการทางการถ่ายภาพเข้ามา [[กุสตาฟ คูร์เบต์]]อาจจะเป็นศิลปินผู้เขียนภาพเหมือนตนเองที่มีความคิดอันสร้างสรรค์ที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และภาพ “ห้องเขียนภาพของศิลปิน” และ “สวัสดี มงซิเออร์คูร์เบต์” ก็อาจจะเป็นภาพเหมือนตนเองที่ใหญ่ที่สุดตั้งแต่ที่เคยเขียนกันมา ทั้งสองภาพมีตัวแบบหลายคนแต่บุคคลที่เป็นศูนย์กลางของภาพคือตัวศิลปินเอง
 
=== จิตรกรสมัยใหม่ผู้เขียนภาพเหมือนตนเองเป็นจำนวนมาก ===
บรรทัด 119:
จิตรกรคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งและคนที่เขียนภาพเหมือนตนเองมากที่สุดคนหนึ่งคือ[[ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]]ผู้เขียนภาพเหมือนตนเองด้วยกันทั้งหมด 37 ภาพระหว่าง ค.ศ. 1886 จนถึง ค.ศ. 1889 สิ่งที่น่าสังเกตของภาพเหมือนของฟาน ก็อกฮ์คือจะไม่มีภาพใดเลยที่จิตรกรจะมองตรงมายังผู้ชมภาพ แม้ว่าจะเป็นภาพที่จ้องตรงไปข้างหน้าแต่ก็ดูเหมือนว่าฟาน ก็อกฮ์จะมีจุดสนใจอื่น ภาพเขียนเหล่านี้ใช้สีที่เข้มข้น บางรูปก็เป็นภาพที่มีผ้าพันแผลรอบหู ซึ่งมาจากความเชื่อที่ว่าฟาน ก็อกฮ์ตัดหูตนเอง
 
ภาพเหมือนตนเองของ[[อีกอน ชีเลอ]]วางมาตรฐานใหม่ให้แก่การ[http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ เขียนภาพเหมือน]ตนเองทางด้านความเปิดเผย หรืออาจจะเรียกว่าออกไปทาง[[exhibitionism|ลัทธิการแสดงอนาจาร]] (Exhibitionism) ที่เป็นภาพเปลือยหลายภาพในท่าต่างๆ และบางภาพก็เป็นภาพชีเลอกำลัง[[การสำเร็จความใคร่|สำเร็จความใคร่]] หรือเมื่ออวัยวะเพศแข็งตัวในภาพ “อีรอส” ที่เขียนเมื่อปี ค.ศ. 1911 [[Stanley Spencer|สแตนลีย์ สเป็นเซอร์]]ก็เป็นอีกผู้หนึ่งที่เขียนในแนวนี้ [[Edvard Munch|เอ็ดเวิร์ด มันช์]]ก็เป็นศิลปินอีกผู้หนึ่งที่เขียนภาพเขียนของตนเองเป็นจำนวนมาก ที่รวมทั้งจิตรกรรม 70 ภาพ, ภาพพิมพ์ 20 ภาพ และภาพวาดลายเส้นหรือสีน้ำอีกกว่า 100 ภาพ ภาพหลายภาพที่เขียนเป็นภาพที่แสดงถึงการที่ถูกกลั่นแกล้งโดยเฉพาะจากสตรี<ref>[http://www.munch.museum.no/exhibitions.aspx?id=35 Munch Museum]</ref> [[ฟรีดา คาห์โล]]ผู้ในชีวิตประสบอุบัติเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้ต้องนอนเป็นคนไข้อยู่หลายปี เขียนภาพตนเองเป็นหลัก และมักจะเป็นภาพที่เกี่ยวกับความเจ็บปวดทั้งทางร่างกายและจิตใจ คาห์โลเขียนภาพเหมือนตนเองราว 55 ภาพที่รวมทั้งภาพตั้งแต่บั้นเอวขึ้นไปและบางภาพก็เป็นภาพการฝันร้ายที่เป็นสัญลักษณ์ของความทุกข์ทรมานทางกาย
 
ตลอดอาชีพการเป็นจิตรกร[[ปาโบล ปีกัสโซ]]มักจะใช้ภาพเหมือนตนเองในการบรรยายตนเองหลายแบบ จากช่วงที่เป็นจิตรกรหนุ่มผู้ยังไม่เป็นที่รู้จักใน "Yo Picasso" ไปจนถึงช่วง "Minotaur in the Labyrinth", ตามด้วย "old Cavalier" และ "lecherous old artist and model" ภาพเหมือนตนเองของปีกัสโซมักจะเผยความเข้าใจอันลึกซึ้งทางจิตวิทยาของตัวปีกัสโซเอง ทั้งทางส่วนตัวและทางการเป็นศิลปิน ศิลปินอีกผู้หนึ่งที่เขียนภาพเหมือนตนเองที่เผยลักษณะของตนเองตลอดชีวิตการเป็นจิตรกรคือ[[Pierre Bonnard|ปิแยร์ บงนาร์ด]] นอกจากนั้นบงนาร์ดก็ยังเขียนภาพเหมือนของภรรยาอีกหลายสิบภาพตลอดชีวิตการเขียนด้วย ศิลปินโดยเฉพาะ[[ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]], [[พอล โกแกง]] และ [[อีกอน ชีเลอ]] ต่างก็เขียนภาพเหมือนตนเองที่เผยตนเองทางจิตวิทยาโดยตลอดอาชีพการเป็นจิตรกร
บรรทัด 160:
ภาพเหมือนตนเองของจิตรกรขณะที่กำลังเขียนภาพเป็นประเภทของภาพเหมือนตนเองที่พบบ่อยที่สุดในการเขียนภาพเหมือนตนเองในยุคกลาง และนิยมกันต่อมาโดยเฉพาะตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา ภาพเหมือนตนเองอีกประเภทหนึ่งที่นิยมกันในยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคือการเขียนตนเองเป็น[[นักบุญลูค]] (ผู้เป็นนักบุญผู้พิทักษ์ของศิลปิน) กำลังเขียนภาพ[[เวอร์จินแมรี]] ภาพเหล่านี้มักจะเขียนเพื่อมอบให้[[สมาคมเซนต์ลูค]]ท้องถิ่นสำหรับนำไปตั้งในชาเปลของสมาคม ภาพเหมือนตนเองที่มีชื่อเสียงก็ได้แก่ภาพ “จิตรกรในห้องเขียนภาพ” โดย[[กุสตาฟ คูร์เบต์]] (ค.ศ. 1855) ซึ่งเป็นภาพ “อุปมานิทัศน์” ขนาดใหญ่ของสิ่งต่างๆ และตัวแบบต่างๆ รอบจิตรกร
 
=== [http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ การเขียนภาพเหมือน]ตนเองและความตาย ===
<gallery>
ไฟล์:Last judgement.jpg|<center>[[ไมเคิล แอนเจโล]]<br>ราว ค.ศ. 1535-ค.ศ. 1541<br>[[เพดานซิสติน]]<br>“การตัดสินครั้งสุดท้าย”<br>[[ไมเคิล แอนเจโล]]เป็นหนังที่ห้อยมาจากมือของ[[นักบุญบาร์โทโลมิว]]</center>
บรรทัด 248:
</center>
 
=== [http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ ภาพวาดเส้น], ภาพพิมพ์ และภาพแกะพิมพ์ ===
<gallery>
ไฟล์:Giuseppe Arcimboldo.jpg|[[Giuseppe Arcimboldo|จุยเซ็ปเป อาร์ซิมโบลโด]]<br>''ภาพเหมือนตนเอง''<br>ราว ค.ศ. 1577