ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัชฌิมาปฏิปทา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
และการปรับสมดุลทำให้เกิดชีวิต ทำให้สิ่งทั้งปวงย่อมต้องเปลี่ยนแปลงสถานะเดิม อย่างธาตุดิน (ของแข็ง) เปลี่ยนเป็นธาตุน้ำ (ของเหลว) เปลี่ยนเป็นธาตุลม (แก๊ส) และเปลี่ยนเป็นธาตุไฟ (แสง ความร้อน พลังงาน) และเปลี่ยนไปไม่สิ้นสุด แม้จะเปลี่ยนแปลงแต่การเปลี่ยนแปลงก็มีขีดจำกัดทำให้เกิดกฎแห่งวัฏจักรหรือวัฏฏะ โลก จักรวาล กาแล็กซี ย่อมหมุนเป็นวงกลม สิ่งมีชีวิตเริ่มต้นถึงที่สุดก็กลับมาตั้งต้นใหม่ การปรับสมดุลที่รักษาข้อมูลหรือพันธุ์กรรมของสิ่งมีชีวิต เช่นเดียวกับจิตที่เกิดดับตลอดเวลา แต่ก็จะถ่ายเทข้อมูลหรือภวังคจิตอันเป็นเช่นกับพันธุกรรมของจิต สู่จิตดวงใหม่ก่อนจิตดวงเก่าจะดับลงทำให้เกิด'''สันตติ''' การสืบต่อ การถ่ายทอดพันธุกรรมตามกฎพีชนิยามทำให้ลูกมาจากปัจจัยพ่อแม่ของตน ทำให้ลูกเหมือนพ่อแม่ของตน แต่กฎอนิจจังความไม่แน่นอนทำให้สัตว์ พืช อาจไม่เหมือนพ่อแม่ของตนได้นิดหน่อย
 
เมื่อสิ่งต่างๆมีผลกระทบต่อกันในด้านต่างๆ จำต้องปรับสมดุลเพื่อรักษาระบบทำให้เกิด'''ชีวิตา[[ปฏิจจสมุปบาท|ปัจจยตา]]'''หรือกฎแห่งหน้าที่ ทำให้มีความเป็นระเบียบของระบบทำงานของร่างกาย เช่น ตับย่อมทำหน้าที่ของตับ ไม่อาจทำหน้าที่เป็นกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เกิด'''[[ฆนะ]]''' ความเป็นก้อน รูปร่าง หรือการเป็นโครงสร้าง ที่ปิดบังกฎ'''[[อนัตตา]]'''แห่งไตรลักษณ์ได้ และถ้าธาตุทั้งสี่ไม่มีกฎแห่งหน้าที่นี้ ที่เป็นเหตุให้ธาตุประกอบกันเป็นร่างกาย ร่างกายย่อมต้องแตกแยกสลายไป สิ่งทั้งปวงไม่มีตัวตนอยู่เองโดยไม่เกี่ยวเนี่ยวกับใคร มีตัวตนเพราะอาศัยปัจจัยต่างๆประกอบกันขึ้น เช่น ต้นไม้ย่อมอาศัยแสง ดิน น้ำ แร่ธาตุ ราก ใบ กิ่ง แก่น ลำต้น อากาศ ทำให้ดำรงอยู่ได้ สิ่งทั้งปวงย่อมเกี่ยวเนี่องซึ่งกันและกัน อย่างร่างกายของเราย่อมเกิดจากความเกี่ยวข้องกันเล็กๆน้อยและเพิ่มขึ้นซับซ้อนพัฒนาขึ้น เพราะการปรับสมดุลของธรรมชาติ ตามหลักมัชเฌนธรรม
 
หลักมัชเฌนธรรมจัดได้ว่าเป็นกฎแห่งพีชนิยามของนิยามทั้ง5
#ทุกขัง (ความทนได้ยาก)ทำให้เกิดกฎสมตา(ความสมดุล) ทำให้มี อิริยาบถ(การบริหารปรับตัว) ที่บิดบังทุกขัง และกฎทุกขังจะทำลายกฎสมตานั้นในที่สุด
#อนิจจัง (ความไม่เที่ยงแท้แน่นอน) ทำให้เกิดกฎวัฏฏะ(การหมุนวนเวียน)ทำให้มีสันตติ(การสืบต่อ)ที่ปิดบังอนิจจัง และกฎอนิจจังจะทำลายกฎวัฏฏะในที่สุด
#อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) ทำให้เกิดกฎชีวิตาปัจจยตา (การมีระบบระเบียบของโครงสร้าง)ทำให้มี ฆนะ(ความเป็นก้อน,รูปร่าง,โครงสร้าง)ที่ปิดบังอนัตตาและกฎอนัตตาจะทำลายกฎชีวิตาในที่สุด<ref>พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑ ปัจจัย ๒๔</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==