ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปปัญจสูทนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Disthan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
 
== ที่มา ==
พระพุทธโฆษาจารย์ หรือ[[พระพุทธโฆสะ]] ได้รจนาคัมภีร์นี้ขึ้นตามคำอาราธนาของพระพุทธมิตตะเถระ<ref>Bimala Charan Law. (1923). หน้า 79</ref> เริ่มต้นคัมภีร์ พระพุทธโฆษาจารย์ได้เกริ่นถึงที่มาที่ไปของการรจนาปปัญจสูทนี กล่าวคือ เป็นการแปลจากอรรถกาเดิมที่พระอรหันต์ผู้เชี่ยวชาญ 500 องค์สังคายนาเป็นภาษามคธ หรือภาษาบาลีไว้ในปฐมสังคายนา รวมถึงที่พระสังคีติกาจารย์ทั้งหลายสังคายนาเพิ่มเติมในเวลาต่อมา เพื่อเนื้อความแห่งพระสูตร มัชฌิมนิกาย ต่อมาพระมหินทมหาเถระได้นำอรรถกถาเหล่านี้มาเผยแผ่ที่ลังกาทวีป แล้วแปลเป็นภาษาสิงหล เพื่อยังประโยชน์แก่ชาวลังกา ในเวลาต่อมาอรรถกาเดิมในภาษามคธสูญหายไป พระพุทธโฆษาจารย์จึงเดินทางมาลังกาเพื่อแปลอรรถกาต่างๆ รวมถึงอรรถกถาที่อธิบายมัชฌิมนิกาย กลับเป็นภาษาบาลีอีกครั้ง นอกจากนี้ ในการแปลครั้งนี้ พระพุทธโฆษาจารย์ยังประกาศว่า อรรถกาเนื้อความมีความสอดคล้องกับคำสอนของพระเถระคณะมหาวิหาร ซึ่งรักษาคำสอนตามแนวทางพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทไว้อย่างครบถ้วน <ref>พระไตรปิฎกมหามกุฏราชวิทยาลัย. ปปัญจสูทนี. อรรถกถา พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย หน้า 16 - 17</ref>
 
== เนื้อหา ==
บรรทัด 52:
*สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2550). พระไตรปิฎกฉบับประชาชน. กรุงเทพมหานคร. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.
*พระศรีปริยัติโมลี. (2542). เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน้า 129 - 144
*Bimala Charan Law. (1923). The Life and Work of Buddhaghosa. Calcutta : Thacker, Spink & Co.
 
[[หมวดหมู่:วรรณกรรม]]