ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมราชวงศ์เทวาธิราช ป. มาลากุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
*ม.ร.ว.โป้ย มาลากุล
*นายเจริญ สวัสดิ-ชูโต ( ภายหลังเป็น พระยานรเทพปรีดา )
*นายเสริม ภูมิรัตน ( ภายหลังเป็น หลวงประภาศโกศัยวิทย์ประกาศโกศัยวิทย์ )
*นางสาวขจร ( ท่านผู้หญิงขจร ภะรตราชา )
*นางสาวพิศ ( นางประภาศโกศัยวิทย์ประกาศโกศัยวิทย์ พิศ ภูมิรัตน )
*นางสาวนวล
*นางสาวหลี ( คุณศรีนาฏ บูรณะฤกษ์ )
บรรทัด 53:
 
นอกจากหน้าที่ในพระราชสำนักแล้ว ยามว่าง พระยาเทวาธิราช จะเพลิดเพลินอยู่กับการสะสมวัตถุโบราณ และ หาความรู้ในหนังสือ จากห้องสมุด ภายในบ้านของท่าน ซึ่งได้รับพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่ถนนประแจจีน ( บ้านเลขที่ 408 สี่แยกราชเทวี ถนนเพชรบุรี ในปัจจุบัน )และเขียนบทความสารคดีต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีทั้งใน-นอกวัง อาทิ
*พระราชประวัติสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง
*ราชาภิสดุดี
*ประเพณีวัง
เส้น 67 ⟶ 68:
ที่สำคัญที่สุด คือได้รับพระเมตตา จาก[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] ให้เขียน[[จดหมาย]]ทูลถามความรู้เกี่ยวกับราชประเพณีโบราณ โต้ตอบกับพระองค์ท่าน ทำนองเป็นจดหมายเวร ติดต่อเป็นเวลาหลายปี ซึ่งมีบุคคลเพียงไม่กี่ท่าน ที่จะได้รับพระเมตตาเช่นนี้ นอกจากการแสวงหาความรู้จากหนังสือแล้ว พระยาเทวาธิราช ยังมีความสามารถในการถ่ายภาพนิ่ง และ ภาพยนตร์ ภายในตึกของท่านจะมีห้องสำหรับล้าง[[ฟิล์ม]] และห้องฉายภาพยนตร์ด้วย เรื่องที่ท่านกำกับ มีอาทิ เจ้าหญิงกุณฑลทิพย์ ฯลฯ
 
ด้านชีวิตครอบครัว ในปี พ.ศ. 2458 ท่านได้ทำการสมรส ครั้งแรกกับ คุณหญิงเผื่อนเนื่อง มาลากุล ( สกุลเดิม บุนนาค ) มีบุตร-ธิดา รวม 9 ท่าน1 คนคือ
*ม.ล.ปีย์ มาลากุล
 
เมื่อคุณหญิงเนื่อง ถึงอนิจกรรม ในปี พ.ศ. 2458 ท่านได้สมรสอีกครั้งกับ คุณหญิงเผื่อน มาลากุล ( สกุลเดิม สอาดเอี่ยม ) มีบุตร-ธิดา รวม 9 ท่าน คือ
*ม.ล.ปุณฑริก ชุมสาย
*ม.ล.ปัณยา มาลากุล