ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุมนุมเจ้าพระฝาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ชุมนุมเจ้าพระฝาง''' เป็น[[สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง|ชุมนุมอิสระ]]ภายหลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] ในปี [[พ.ศ. 2310]] โดยมีผู้นำชุมนุมเป็นพระสงฆ์ คือ '''พระพากุลเถระ (มหาเรือน)''' พระสังฆราชาแห่ง[[วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ|เมืองสวางคบุรี (ฝาง)]] ชุมนุมดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]ทรงยกทัพมาตี เมื่อ พ.ศ. 2313
 
บรรทัด 54:
 
หลังชุมนุมเจ้าพระฝางแตก เจ้าพระฝางได้หนีไปขึ้นต่อโปมะยุง่วนเจ้าเมืองเชียงใหม่ซึ่งในขณะนั้นยังเป็นเมืองขึ้นของพม่า ทำให้โปมะยุง่วนได้กำลังจากเจ้าพระฝางเพิ่ม และท่านได้ยุงยงให้พม่ายกทัพมาหยั่งเชิงที่เมืองสวรรคโลกในปี [[พ.ศ. 2313]]<ref>ดำรงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. (2478). '''พงศาวดาร เรื่องไทยรบพะม่าครั้งกรุงธนบุรี'''. พระนคร : อักษรเจริญทัศน์</ref> ซึ่งเป็นการสงครามกับเมืองเชียงใหม่ครั้งแรกในสมัยธนบุรี และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีคิดยกทัพไปยึดเมืองเชียงใหม่คืนจากพม่า<ref>_________________. (ม.ป.ป.). [http://dl.kids-d.org/bitstream/handle/123456789/2625/nlt-rarebook-politiclaw-00091.pdf?sequence=1 พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช ๑๑๒๙-๑๑๓๐]. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.).</ref>
 
 
== อ้างอิง ==