ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
|-
| 1
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2481|11 กันยายน พ.ศ. 2481]]
| พันเอก [[พระยาพหลพลพยุหเสนา]]
| รัฐบาลขัดแย้งกับสภา
|-
| 2
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2488|15 ตุลาคม พ.ศ. 2488]]
| [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]]
| สภาผู้แทนยืดอายุมานานในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง|สงคราม]] จนสมควรแก่เวลา
|-
| 3
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2519|12 มกราคม พ.ศ. 2519]]
| [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]]
| ความขัดแย้งภายในรัฐบาล
|-
| 4
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2526|19 มีนาคม พ.ศ. 2526]]
| พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]]
| สภาผู้แทนราษฎรขัดแย้งกับวุฒิสภา กรณีแก้ไข[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย|รัฐธรรมนูญ]]
|-
| 5
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2529|1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529]]
| พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
| รัฐบาลขัดแย้งกับสภา กรณีการตรา[[พระราชกำหนด]]
|-
| 6
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2531|29 เมษายน พ.ศ. 2531]]
| พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
| ความขัดแย้งภายในรัฐบาล
|-
| 7
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2535|30 มิถุนายน พ.ศ. 2535]]
| [[อานันท์ ปันยารชุน]]
| เป็นรัฐบาลเฉพาะกาลหลังจากเกิด[[พฤษภาทมิฬ|วิกฤตทางการเมือง]]
|-
| 8
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2538|19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538]]
| [[ชวน หลีกภัย]]
| ความขัดแย้งภายในรัฐบาล
|-
| 9
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2539|28 กันยายน พ.ศ. 2539]]
| [[บรรหาร ศิลปอาชา]]
| ความขัดแย้งภายในรัฐบาล
|-
| 10
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2543|9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543]]
| ชวน หลีกภัย
| ปฏิบัติภารกิจตามเป้าหมายเสร็จแล้ว
|-
| 11
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2549|24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549]]
| พันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]]
| เกิด[[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2553|วิกฤตการณ์การเมือง]]จากการชุมนุมขับไล่นายกรัฐมนตรี ต่อมาเกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหาร 19 กันยายน 2549]]
|-
|12
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2554|10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554]]
| [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]
| [[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2553|วิกฤตการณ์ทางการเมือง]]
บรรทัด 97:
|-
|13
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย พ.ศ. 2556|9 ธันวาคม พ.ศ. 2556]]
| [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]]
| ปัญหาความขัดแย้งและความแตกแยกของชนในชาติ ([[วิกฤติการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556|วิกฤตการณ์ทางการเมือง]])
| วิกฤตที่เกิดจากมวลชนจำนวนหนึ่งกล่าวหาว่ารัฐบาลมีปัญหาการคอรัปชั่นอย่างสูงในหมู่ข้าราชการและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์ โดยไม่พอใจนโยบายประชานิยมที่รัฐบาลออกนโยบายมา เช่นการรับจำนำข้าว โครงการจัดการน้ำ3.5แสนล้าน และเกิดวิกฤตประชาชนประท้วงอย่างมหาศาล ประชาชนออกมาต่อต้านกว่า 2 แสนคน จากการที่รัฐบาลพยายามจะออกพรบ.นิรโทษกรรม ฉบับสุดซอยตอนตี 4 /แก้ที่มา สว.ตอนตี4 /แก้ พรบ.มาตรา 190/และ พรบ.เงินกู้ 2.2ล้านล้าน([[วิกฤติการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556|วิกฤตการณ์ทางการเมือง]]) กลุ่มมวลชนต่อต้านรัฐบาลจำนวนหนึ่งพยายามสร้างสถานการณ์ความรุนแรง แม้ว่าจะมีประชาชนสนับสนุนรัฐบาลจำนวนมากกว่าแต่รัฐบาลก็แก้ไขการปะทะของมวลชนด้วยการยุบสภา ต่อมาฝ่ายต่อต้านรัฐบาลมีความมุ่งหมายพยายามล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย
|-
|}
บรรทัด 109:
* {{วิกิซอร์ซบนบรรทัด|พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร}}
 
[[หมวดหมู่:การยุบสภาผู้แทนราษฎรการเมืองไทย| ]]