ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการวัลคือเรอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่ม ชะตากรรมของนายพลฟรอมม์
บรรทัด 19:
== การลงมือปฏิบัติ ==
 
บุคคลหลักของแผนการ คือ พันเอกเคลาส์ เชงค์ ฟอน สเตาฟเฟนเบิร์ก ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติการจริงหลังจากการลอบสังหารฮิตเลอร์ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 พันเอกสเตาฟเฟนเบิร์กยังได้ปรับปรุงแผนการวาลคิรีเพิ่มเติม ตำแหน่งหัวหน้ากองเสนาธิการของกองทัพหนุนทำให้เขาสามารถเข้าถึงตัวฮิตเลอร์ในการรายงานต่าง ๆ ได้ ในตอนแรก พันเอกเทรสคอว์และพันเอกสเตาฟเฟนเบิร์กต่างก็ส่งนายทหารของตนที่สามารถเข้าถึงตัวฮิตเลอร์ และสามารถลงมือลอบสังหารเขาได้ นายพล[[:en:Helmuth Stieff|เฮลมุธ สตีฟฟ์]] หัวหน้าขององค์กรหนึ่งในกองบัญชาการทหารสูงสุด อาสาที่จะเป็นมือสังหาร แต่ได้ถอนตัวออกไปในภายหลัง เทรสคอว์พยายามหลายครั้งที่จะได้รับบรรจุในกองบัญชาการใหญ่ของฮิตเลอร์ แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ท้ายที่สุด พันเอกสเตาฟเฟนเบิร์กจึงตัดสินใจที่จะลงมือปฏิบัติการลอบสังหารและปฏิบัติการวาลคิรีไปพร้อม ๆ กัน ซึ่งเป็นการลดโอกาสที่จะสำเร็จเป็นอย่างมาก หลังจากความพยายามสองครั้งไม่ประสบผล สเตาฟเฟนเบิร์กจึงติดตั้งแอบลอบวางระเบิดที่ห้องประชุมในกองบัญชาการสนาม "รังหมาป่า" ของฮิตเลอร์ (แคว้นปรัสเซียตะวันออก)ในวันที่ 20 กรกฎาคม และเพื่อสังหารฮิตเลอร์ ส่วนตนเองก็รีบออกจาก "รังหมาป่า" บินกลับมาดำเนินการตามแผนการต่อในกรุงเบอร์ลิน อย่างไรก็ดี ฮิตเลอร์รอดชีวิตมาจากการลอบวางระเบิดดังกล่าวมาได้
 
หลังจากที่เขานายพลฟรอมม์รับรู้ว่าระเบิดฮิตเลอร์ไม่ได้ถูกสังหารตัวฮิตเลอร์โดยการลอบวางระเบิด นายพลฟรอมม์เขาจึงออกคำสั่งให้มีการประหารชีวิตนายพลออลบริชต์ หัวหน้าของเขา พันเอกอัลบรีชต์ ริทเทอร์ เมอร์ทซ์ ฟอน เควอร์นไฮม์ พันเอกฟอน สเตาฟเฟนเบิร์ก และนายทหารคนสริท ร้อยโทเวอร์เนอร์ ฟอน เฮฟเทน ไม่นานหลังจากเที่ยงคืน วันที่ 21 กรกฎาคม 1944 ผู้ที่ถูกตัดสินประหารชีวิตทั้งหมดถูกนำตัวไปยิงทิ้งภายในลานของกองบัญชาการใหญ่[[:en:Bendlerblock|เบนด์เลอร์บล็อก]]<ref>Rupert Butler, The Gestapo: A History of Hitler's Secret Police 1933-45. London: Amber Books Ltd. 2004. pg. 149.</ref>
 
อย่างไรก็ดี หลังการสั่งประหารผู้สมคบก่อการในปฏิบัติการวาลคิรีแล้ว ต่อมาตัวนายพลฟรอมม์เองก็ไม่สามารถรอดพ้นไปจากชะตากรรมเดียวกัน เขาถูกเจ้าหน้าที่ระดับสูงของพรรคนาซีกล่าวหาว่า จงใจเร่งสั่งประหารชีวิตผู้ร่วมก่อการพยายามรัฐประหารดังกล่าว (แทนที่จะเก็บตัวไว้เพื่อไต่สวนต่อไป)เพื่อปิดปากมิให้มีการให้การพาดพิงมาถึงตัวนายพลฟรอมม์เองว่าเคยมีส่วนรู้เห็นในแผนการดังกล่าวด้วย นายพลฟรอมม์ถูกสอบสวน ถูกถอดยศ และถูกประหารชีวิตในปีวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 19541945 ที่บรันเดนบูร์ก จากความผิดฐานปฏิบัติหน้าที่ผิดพลาดร้ายแรงและล้มเหลวในการรายงานเกี่ยวกับความพยายามก่อรัฐประหาร แม้ทางการนาซีเยอรมันจะไม่สามารถหาหลักฐานที่ชัดเจนว่าเขามีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับปฏิบัติการวาลคิรีก็ตาม
 
อย่างไรก็ดี หลังการสั่งประหารผู้สมคบก่อการในปฏิบัติการวาลคิรีแล้ว ต่อมาตัวนายพลฟรอมม์เองก็ไม่สามารถรอดพ้นไปจากชะตากรรมเดียวกัน เขาถูกเจ้าหน้าที่ระดับสูงของพรรคนาซีกล่าวหาว่า จงใจเร่งสั่งประหารชีวิตผู้ร่วมก่อการพยายามรัฐประหารดังกล่าว (แทนที่จะเก็บตัวไว้เพื่อไต่สวนต่อไป)เพื่อปิดปากมิให้มีการให้การพาดพิงมาถึงตัวนายพลฟรอมม์เองว่าเคยมีส่วนรู้เห็นในแผนการดังกล่าวด้วย นายพลฟรอมม์ถูกสอบสวน ถอดยศ และถูกประหารชีวิตในปี ค.ศ. 1954 แม้ทางการนาซีเยอรมันจะไม่สามารถหาหลักฐานที่ชัดเจนว่าเขามีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับปฏิบัติการวาลคิรีก็ตาม
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}