ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสักยันต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
+อ้างอิง
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ความเชื่อทางไสยศาสตร์||การสัก}}
[[ไฟล์:Yant Paed Tidt.jpg|thumb|250px|ยันต์แปดทิศ]]
'''สักยันต์''' เป็น[[การสัก]]ชนิดหนึ่ง โดยต่างจากการสักทั่วไปที่สักเพื่อความสวยงามเป็น[[ศิลปะ]] แต่การสักยันต์มีจุดประสงค์ในเรื่องของความเชื่อทาง[[ไสยศาสตร์]] เช่น จะทำให้มีโชค แคล้วคลาด ปลอดภัย อยู่ยงคงกระพัน และพ้นจากอันตรายต่าง ๆ โดยมีความเชื่อว่า รูปแบบลายสักหรือยันต์แต่ละชนิดจะมีคุณที่แตกต่างกัน<ref name="ประวัติ">[http://www.importancetattoo.com/th/article04.php ประวัติความเป็นมาในการสักยันต์ของไทย] {{citation neededth}}</ref> และผู้ที่สักยันต์จะต้องปฎิบัติตามข้อบังคับที่แต่ละสำนักกำหนดไว้ เช่น ห้ามด่าบิดามารดา ห้ามลบหลู่ครูอาจารย์ เป็นต้น<ref name="ข้อห้าม">[http://www.checkduang.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5360630 การสักยันต์มีหลายสำนักที่มีกฏมีระเบียบว่าควรถืออะไรบ้างเมื่อสักยันต์ที่สำนักนั้นแล้ว] {{th}}</ref>
 
การสัก คือ ''การเอาเหล็กแหลมแทงลงด้วยวิธี การหรือเพื่อประโยชน์ต่าง ๆ กัน ใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกหรือน้ำมันแทงที่ผิวหนังให้เป็นอักขระ เครื่องหมายหรือลวดลาย ถ้าใช้หมึกเรียกว่าสักหมึก ถ้าใช้น้ำมันเรียกว่าสักน้ำมัน''{{citation needed}} ส่วนคำว่า "ยันต์" ตาม[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน]] กล่าวว่า ''ยันต์คือตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระหรือรูปภาพที่เขียน สัก หรือแกะสลักลงบนแผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น ถือว่าเป็นของขลัง เช่น ยันต์ตรีนิสิงเห ยันต์พระเจ้า ๕ พระองค์ เรียกเสื้อหรือผ้าเป็นต้นที่มีลวดลายเช่นนั้นว่า เสื้อยันต์ ผ้ายันต์ เรียกกิริยาที่ทำเช่นนั้นว่า ลงเลข ลงยันต์''<ref name="พจนานุกรม">[http://dictionary.sanook.com/search/ยันต์ พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน]</ref>
บรรทัด 8:
การสักยันต์มีมาก่อนกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี โดยต้นแบบน่าจะมาจากขอมโบราณในขณะที่ขอมยังเรืองอำนาจอยู่ในแคว้นสุวรรณภูมิเมื่อประมาณ 1,400 ปีที่แล้ว เพราะอักขระและลวดลายที่ใช้สักกันนั้นเป็นแบบอักขระขอม และเป็น[[ภาษาบาลี]]เป็นส่วนใหญ่<ref>[http://tattoothai-magic.com/index.php?option=com_content&view=article&id=48&Itemid=60&lang=en ความเป็นมาของการสักยันต์]</ref>
 
ส่วนในประเทศไทย[[การสัก]]สืบทอดกันมาแต่โบราณ ในอดีตข้าราชการของไทยจะทำตำหนิที่ข้อมือคนในบังคับซึ่งเป็นหน้าที่ของแผนกทะเบียนเป็นผู้บันทึกและรวบรวมสถิติชาย เป็นต้น สันนิฐานว่า การทำเครื่องหมายลงบนร่างกายนี้อาจมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]{{citation<ref needed}|name="ประวัติ"/>
 
การสักยันต์ในประเทศไทยอาจจะมีมาแต่โบราณ แต่ไม่มีหลักฐานชัดเจน มีปรากฎใน[[วรรณคดี]]เรื่อง "[[ขุนช้างขุนแผน]]" และวรรณกรรมอื่น ๆ โดยเชื่อมโยงกับความเชื่อทางไสยศาสตร์ ทำให้แคล้วคลาดต่ออันตรายต่าง ๆ เป็นทางหนึ่งที่ช่วยให้จิตใจมีความมั่นใจมั่นคง ซึ่งการสักยันต์ที่มีลวดลายเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายมีการให้ผลทางไสยศาสตร์ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ เพื่อผลทางเมตตามหานิยม และคงกระพันชาตรี{{citation<ref needed}}name="ประวัติ"/>
 
== อ้างอิง ==