ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินโดจีนของฝรั่งเศส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 127:
* '''อนุสัญญาฉบับที่ 4''' ว่าด้วยการปกป้องคุ้มครองบุคคลพลเรือนในระหว่างสงคราม หรือการขัดแย้งทางกำลังทหารประเทศต่าง ๆ ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญานี้ ดังนี้
 
** การรักษาพยาบาล -แก่เพื่อนและศัตรูโดยเท่าเทียมกัน
** เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เกียรติของมนุษย์ สิทธิในครอบครัว ในการนับถือศาสนาและเกียรติของสตรี
** ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ไปเยี่ยมนักโทษสงคราม และ ประชาชนที่อยู่ในค่ายกักกัน โดยพูดกับผู้ถูกกักขังอย่างไม่มีพยานร่วมรับรู้
** ห้าม การกระทำที่ไม่มีมนุษยธรรม การทรมาน การประหารชีวิต การเนรเทศ จังตัวประกัน สอบสวนหมู่การกระทำที่รุนแรงและทำลายทรัพย์สินส่วนตัวอย่างไม่ปรานี
 
นอกจากนี้ อนุสัญญาเจนีวาฉบับนี้ ยังได้กล่าวถึงข้อกำหนดเกี่ยวกับการคุ้มครองพลเรือนให้พ้นจากภัยสงครามระหว่างประเทศและคุ้มครองแก่พวกกบฏให้พ้นจากการถูกทรมานในกรณีเกิดสงครามกลางเมืองภายในประเทศ รวมทั้งมีสาระอื่น ๆ อีก เช่น เงื่อนไขการลงโทษเพื่อคุ้มครองผู้ถูกต้องโทษ และการส่งตัวนักโทษสงครามกลับสู่ประเทศบ้านเกิดเมืองนอนของเขาตน เป็นต้น
 
นอกจากนี้ อนุสัญญาเจนีวาฉบับนี้ ยังได้กล่าวถึงข้อกำหนดเกี่ยวกับการคุ้มครองพลเรือนให้พ้นจากภัยสงครามระหว่างประเทศและคุ้มครองแก่พวกกบฏให้พ้นจากการถูกทรมานในกรณีเกิดสงครามกลางเมืองภายในประเทศ รวมทั้งมีสาระอื่น ๆ อีก เช่น เงื่อนไขการลงโทษเพื่อคุ้มครองผู้ถูกต้องโทษ และการส่งตัวนักโทษสงครามกลับสู่ประเทศบ้านเกิดเมืองนอนของเขา เป็นต้น
สนธิสัญญาเจนีวา ว่าด้วยการปฏิบัติต่อเชลยศึก ได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 12 ส.ค. ปี 2492 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 ต.ค. ปี 2493 มีเป้าหมายให้การสงเคราะห์ทหาร และพลเรือนที่ได้รับผลกระทบจากสงคราม โดยประสานงานใกล้ชิดกับคณะกรรมการกาชาดสากล (ไอซีอาร์ซี)
 
* '''มาตรา 13''' ในสนธิสัญญาฯ ระบุว่า : เชลยศึกต้องได้รับการดูแลอย่างมีมนุษยธรรมตลอดเวลาที่ถูกกักขัง ห้ามผู้กักขังกระทำการใดๆ ที่ผิดกฎหมาย หรือละเว้นไม่กระทำการ อันส่งผลให้เชลยศึกเสียชีวิตหรือได้รับอันตรายร้ายแรง หากกระทำจะถือว่าเป็นการละเมิดสนธิสัญญาฉบับปัจจุบันอย่างรุนแรง เฉพาะอย่างยิ่ง ต้องไม่ทำให้เชลยศึกพิการ หรือถูกใช้ทดลองยาหรือทดลองทางวิทยาศาสตร์ นอกจากเป็นการรักษาตามโรงพยาบาล การทำฟัน และการรักษาอื่นเพื่อประโยชน์ของเชลยศึก เชลยศึกต้องได้รับการปกป้องตลอดเวลา โดยเฉพาะต่อการถูกทำร้ายหรือข่มขู่ การถูกดูถูกต่อหน้าสาธารณชน และห้ามแก้แค้นเชลยศึก
* '''มาตรา 14''' : ผู้กักขังต้องเคารพเกียรติและความเป็นมนุษย์ของเชลยศึก ผู้หญิงจะต้องได้รับการปฏิบัติโดยคำนึงถึงเพศและได้รับการรักษาพยาบาลเช่นเดียวกับผู้ชาย เชลยศึกควรมีสิทธิทำกิจกรรมตามที่พลเรือนในขณะนั้นพึงมีอย่างเต็มที่ ผู้กักขังไม่ควรจำกัดการออกกำลังกายของเชลยศึก หรือสิทธิอื่นๆ ยกเว้นขัดกับข้อกำหนดด้านการจับกุม
 
ประเทศไทยก็เป็นภาคีในสนธิสัญญาเจนีวาด้วย และได้ออกกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามอนุสัญญาเจนีวาด้วย นั่นคือ พระราชบัญญัติ บังคับการให้เป็นไปตามอนุสัญญาเจนีวาเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อเชลยศึก พ.ศ.2498
โดยมีเนื้อหาอันเป็นการช่วยคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่เชลยศึก อันจะเห็นได้ในบทบัญญัติ ในส่วนความผิดที่กระทำต่อ เชลยศึก
 
* '''มาตรา ๑๒''' ผู้ใดกระทำการทดลองชนิดใดๆ แก่เชลยศึกในทางแพทย์ทางชีววิทยา หรือทางวิทยาศาสตร์ อันไม่เป็นการสมควรแก่เหตุในการรักษาพยาบาลเชลยศึกนั้น มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามพันห้าร้อยบาท และจำคุกไม่เกินเจ็ดปี
* '''มาตรา ๑๓''' ผู้ใดขู่เข็ญ ดูหมิ่น หรือกระทำให้เชลยศึกได้รับความอัปยศหรืออัปมานในตัวตนและเกียรติยศ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
* '''มาตรา ๑๔''' ผู้ใดทรมานร่างกายหรือจิตใจหรือบังคับเชลยศึกด้วยประการใดๆ เพื่อจะได้มาซึ่งข้อความใดๆ จากเชลยศึก หรือคุกคาม ดูหมิ่น หรือให้ได้รับผลปฏิบัติใดอันเป็นที่เดือดร้อนรำคาญ หรือเสื่อมเสียประโยชน์ไม่ว่าประการใดๆ ในกรณีที่เชลยศึกไม่ยอมให้คำตอบมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันห้าร้อยบาท หรือจำคุกไม่เกินสามปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
* '''มาตรา ๑๕''' ผู้ใดบังคับเชลยศึกให้เข้าประจำการในกองทหารศัตรูของเชลยศึกมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันห้าร้อยบาท หรือจำคุกไม่เกินห้าปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
* '''มาตรา ๑๖''' ผู้ใดกระทำการใดๆ เพื่อให้เชลยศึกมิได้รับการพิจารณาคดีโดยเที่ยงธรรมหรือตามระเบียบที่กำหนดไว้ในอนุสัญญา มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันห้าร้อยบาท หรือจำคุกไม่เกินสามปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
* '''มาตรา ๑๗''' ผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนบทบัญญัติในมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัตินี้ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามพันห้าร้อยบาท หรือจำคุกไม่เกินเจ็ดปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
 
ถึงแม้จะมีข้อตกลงระดับนานาชาติ ที่ถือว่าประเทศหลายประเทศในโลกยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ควรทำ เป็นสิ่งหนึ่งที่ต้องทำเพื่อปกป้องสิ่งที่มีค่ายิ่งของมนุษย์คือ สิทธิมนุษยชน อย่างสนธิสัญญาเจนีวาว่าด้วยการปฏิบัติต่อเชลยศึกก็ตาม ในความเป็นจริงอำนาจทางทหารมาก่อนสิ่งนี้เสมอ ประเทศมหาอำนาจบางประเทศก็ยังละเมิดกฏหมายที่คุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างหน้าตาเฉย
 
== อ้างอิง ==