ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|เจ้านครเชียงใหม่|พระเจ้ากรุงธนบุรี (พระยาวชิรปราการ)|สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีอักษร = #8f5f12
|ภาพ =
|พระปรมาภิไธยนาม = พระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชรวิเชิยรปราการ
|ราชสมภพ = พ.ศ. 2260
|วันพิราลัย= พ.ศ. 2325<br>[[กรุงธนบุรี]]<br>พระชนมายุ 65 ปี
|พระอิสริยยศ = พระเจ้าพระยานครเชียงใหม่
|พระบิดา = ไม่ปรากฏ
|พระมารดา= ไม่ปรากฏ
เส้น 18 ⟶ 16:
|ระยะเวลาครองราชย์ = 2 ปี
|รัชกาลก่อนหน้า =
|รัชกาลถัดมา = [[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละกาวิละ]]<bR>([[ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์จักร]])
|}}
'''พระยาวิเชิยรปราการ''' หรือ '''พระยาจ่าบ้าน''' (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นพระยาประเทศราช[[นครเชียงใหม่]]สมัยกรุงธนบุรี ช่วง [[พ.ศ. 2317]] - [[พ.ศ. 2319]]
'''พระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชร'''({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-King Wachiraprakan.png|150px]]}})<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> หรือ '''พระยาจ่าบ้าน''' (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นเจ้าผู้ครอง[[จังหวัดเชียงใหม่|นครเชียงใหม่]] ช่วง [[พ.ศ. 2317]] - [[พ.ศ. 2319]] ภายหลังจาก[[พระเจ้ากรุงธนบุรี]]ยึดเมืองเชียงใหม่ได้แล้ว จึงได้ประกอบพิธีมอบอาญาสิทธิ์ให้พระยาจ่าบ้าน ขึ้นเป็นพระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชร '''"เจ้าแผ่นดินเชียงใหม่"''' ให้เจ้าเมืองเชียงใหม่มีอำนาจปกครองตนเอง ในฐานะเมืองประเทศราชอยู่ภายใต้ราชอาณาจักรสยาม ซึ่งประกอบพิธี ณ [[วัดพระบรมธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร|วัดพระธาตุหริภุญไชย]]
 
== ประวัติ ==
เมืองเชียงใหม่ ในรัชสมัยของพระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชร ประสบปัญหาด้านกำลังพลอย่างมาก เนื่องจากบ้านเมืองมีศึกสงครามต่อเนื่องเป็นเวลายาวนาน มีกำลังคนในเมืองเชียงใหม่เพียง 1,900 คน ไม่อาจจะปกป้องรักษาเมืองได้ เมื่อเมืองเชียงใหม่ถูกพม่าล้อมเมืองเป็นเวลา 8 เดือน จนราษฎรประสบภัยอดอยาก จนมีทัพเมืองทางใต้มาช่วยตีจนพม่าแตกพ่ายกลับไป
เมื่อพระเจ้าอังวะยึดนครเชียงใหม่ได้แล้ว [[โปมะยุง่วน]]แม่ทัพพม่าได้ตั้ง'''พระยาจ่าบ้าน (บุญมา)''' เป็น'''พระยาสุรสงคราม'''<ref name="พงษาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย">พระยามหาอำมาตยาธิบดี (หรุ่น ศรีเพ็ญ), ''พงษาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', ประชุมพงษาวดารภาคที่ 3</ref> และมอบหมายให้ไปตีทัพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีที่ยกขึ้นมาตั้งอยู่ที่นครลำพูน แต่พระยาจ่าบ้านและพระยากาวิละกลับเข้าสวามิภักดิ์ต่อพระเจ้ากรุงสยาม เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]ยึดเมืองเชียงใหม่ได้แล้ว จึงได้ตั้งพระยาจ่าบ้านขึ้นเป็น'''พระยาวิเชิยรปราการ'''<ref name="พงษาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย"/> ให้เจ้าเมืองเชียงใหม่มีอำนาจปกครองตนเอง ในฐานะเมืองประเทศราชอยู่ภายใต้ราชอาณาจักรสยาม ซึ่งประกอบพิธี ณ [[วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร]]
 
เมืองเชียงใหม่ ในรัชสมัยของพระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชรวิเชิยรปราการ ประสบปัญหาด้านกำลังพลอย่างมาก เนื่องจากบ้านเมืองมีศึกสงครามต่อเนื่องเป็นเวลายาวนาน มีกำลังคนในเมืองเชียงใหม่เพียง 1,900 คน ไม่อาจจะปกป้องรักษาเมืองได้ เมื่อเมืองเชียงใหม่ถูกพม่าล้อมเมืองเป็นเวลา 8 เดือน จนราษฎรประสบภัยอดอยาก จนมีทัพเมืองทางใต้สยามมาช่วยตีจนพม่าแตกพ่ายกลับไป
ราวปี [[พ.ศ. 2319]] พระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชร ทรงเห็นว่าเมืองนี้มีไพร่พลน้อยเกินกว่าจะอยู่ยั้งเป็นเมืองต่อไปได้ จึงย้ายไปพำนักที่[[จังหวัดลำปาง|เมืองลำปาง]] เพื่อขอความช่วยเหลือจาก[[เจ้าเจ็ดตน]] พระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชร ในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ พยายามเคลื่อนไหวโดยกลับมาตั้งมั่นในบริเวณรอยต่อระหว่างเชียงใหม่-ลำพูน จากนั้นได้เคลื่อนไหวจากเมืองลำปางมาที่ท่าวังพร้าว ใน [[พ.ศ. 2320]] ต่อมาจึงมาตั้งมั่นที่[[อำเภอเวียงหนองล่อง|เวียงหนองล่อง]] จากนั้นย้ายไปวังสะแกงสบลี้
 
ราวปี [[พ.ศ. 2319]] พระยาหลวงวชิรวิเชียรปราการกำแพงเพ็ชร ทรงเห็นว่าเมืองนี้มีไพร่พลน้อยเกินกว่าจะอยู่ยั้งเป็นเมืองต่อไปได้ จึงย้ายไปพำนักที่[[จังหวัดลำปาง|เมืองลำปาง]] เพื่อขอความช่วยเหลือจาก[[เจ้าเจ็ดตน]] พระยาหลวงวชิรวิเชิยรปราการกำแพงเพ็ชร ในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ พยายามเคลื่อนไหวโดยกลับมาตั้งมั่นในบริเวณรอยต่อระหว่างเชียงใหม่-ลำพูน จากนั้นได้เคลื่อนไหวจากเมืองลำปางมาที่ท่าวังพร้าว ใน [[พ.ศ. 2320]] ต่อมาจึงมาตั้งมั่นที่[[อำเภอเวียงหนองล่อง|เวียงหนองล่อง]] จากนั้นย้ายไปวังสะแกงสบลี้
ในราว [[พ.ศ. 2322]] พระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชร ถูกพระเจ้ากรุงธนบุรีลงโทษให้จำคุกที่[[กรุงธนบุรี]]ในข้อหาฆ่าอุปราชก้อนแก้ว ซึ่งในที่สุดพระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพ็ชร ก็เสด็จพิราลัยที่กรุงธนบุรี เมืองเชียงใหม่ถูกปล่อยร้างไปประมาณอีก 20 ปี คือ ระหว่าง พ.ศ. 2319- พ.ศ. 2339 [[พระเจ้ากาวิละ]]จึงได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่อีกครั้ง
 
ในราว [[พ.ศ. 2322]] พระยาหลวงวชิรวิเชิยรปราการกำแพงเพ็ชร ถูกพระเจ้ากรุงธนบุรีลงโทษให้จำคุกที่[[กรุงธนบุรี]]ในข้อหาฆ่าอุปราชก้อนแก้ว ซึ่งในที่สุดพระยาหลวงวชิรวิเชิยรปราการกำแพงเพ็ชร ก็เสด็จถึงแก่พิราลัยที่กรุงธนบุรี เมืองเชียงใหม่ถูกปล่อยร้างไปประมาณอีก 20 ปี คือ ระหว่าง พ.ศ. 2319- พ.ศ. 2339 [[พระเจ้ากาวิละ]]จึงได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่อีกครั้ง
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{เริ่มกล่อง/ราชสมบัติ}}
เส้น 37 ⟶ 39:
| ราชวงศ์ = -
| ปี = [[พ.ศ. 2317]] - [[พ.ศ. 2319]]
| ถัดไป = [[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละกาวิละ]]<br/>{{เล็ก|[[ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์จักร]]}}
}}
{{จบกล่อง}}
เส้น 43 ⟶ 45:
{{เจ้านครเชียงใหม่}}
 
{{เรียงลำดับ|วชิรปราการ}}
{{ตายปี||233}}
{{เกิด|}}
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่| ]]
{{ตายปี||2332325}}
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่| ]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา]]
{{โครงชีวประวัติ}}