ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไส้กรอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
2.ไส้[[สังเคราะห์]]หรือไส้เทียม เช่น ไส้จาก[[คอลลาเจน]] ไส้สังเคราะห์จากใย[[ฝ้าย]]
หรือไส้[[พลาสติก]]
dlkfjosdkjfsldjfslkdjfslkdjfslkdfjslkdjfslkdfjskdjfslkdjfsldfjjตัว และป้องกันไม่ให้ไส้กรอกเกิดการเน่าเสียจาก [[แบคทีเรีย]]ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการหายใจ โดยในประเทศไทยได้กำหนดปริมาณสูงสุดในการใช้สารประกอบไนเตรต (KNO<sub>3</sub>, NaNO<sub>3</sub>) ที่สามารถใช้ได้ไว้ที่ 500 มิลลิกรัม ต่อผลิตภัณฑ์เนื้อหมัก 1 กิโลกรัม (ซึ่งหากคำนวณน้ำหนักของไนเตรตจริงๆแล้วจะมีไนเตรตน้ำหนักเพียง 125 มิลลิกรัมเท่านั้น) เพราะถ้าหากบริโภคไนเตรตมากเกินไปจะทำให้เป็นพิษต่อร่างกาย เนื่องจากไนเตรตหรือสารประกอบไนเตรต (KNO<sub>3</sub>, NaNO<sub>3</sub>) เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดจะไปทำปฏิกิริยาออกซิไดซ์กับ[[ฮีโมโกลบิน]]ในเม็ด[[เลือด]] ทำให้เม็ดเลือดแดงนั้นหมดสภาพ ไม่สามารถทำหน้าที่ลำเลียง[[ออกซิเจน]]ได้ นอกจากนั้นแล้ว ไนเตรตหรือสารประกอบไนเตรต (KNO<sub>3</sub>, NaNO<sub>3</sub>) ยังทำให้เกิดสารประกอบ[[ไนโตรซามีน]]ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดโรค[[มะเร็ง]]อีกด้วย
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}skdjflskdjflksdj lierjfsldkjfslkdjf oeijrsldijfsldkfjs;lef
 
[[หมวดหมู่:ไส้กรอก| ]]
[[หมวดหมู่:การถนอมอาหาร]]