ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามลยาฬัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 41:
โครงสร้างประโยคของภาษามาลายาลัมเป็นแบบประธาน-กรรม- กริยา เช่นเดียวกับภาษากลุ่มดราวิเดียนอื่นๆ<ref>{{cite web|url=http://wals.info/languoid/lect/wals_code_mym|title=Wals.info|publisher=Wals.info|accessdate=2012-02-20}}</ref> คุณศัพท์และคำแสดงความเป็นเจ้าของนำหน้าคำนาม มีการกทางไวยากรณ์ 6<ref>Asher, R. E. and Kumari, T. C. (1997). Malayalam. Routledge Pub.: London.</ref>-7<ref>http://www.jaimalayalam.com/papers/socialCaseMalayalam05.pdf</ref> การก คำกริยาเป็นไปตามกาล มาลาและเป้าหมาย แต่ไม่ผันตามบุคคล เพศ หรือจำนวน ยกเว้น รูปแบบโบราณหรือในกวีนิพนธ์
== ระบบการเขียน ==
[[Fileไฟล์:Malpublicinfoboard.JPG|thumb|250px|ป้ายเขียนด้วยอักษรมาลายาลัม]]
[[Fileไฟล์:Quran arabi malayalam.JPG|thumb|250px|Aอัลกุรอ่านแปลเป็นภาษามายาลัม เขียนด้วยอักษรอาหรับ]]
ในอดีตที่ผ่านมามีอักษรหลายชนิดใช้เขียนภาษามาลายาลัมได้แก่ อักษรวัตเตซุถุ อักษรโกเลซุถุ และอักษรมาลายาลัม จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรครันถะ]]ซึ่งเป็นรูปแบบของ[[อักษรพราหมี]]ที่แพร่หลายทางตอนใต้ และต่อมาได้พัฒนามาเป็นอักษรมาลายาลัมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน