ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กะทกรก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Taxobox
| image = P foetida fruit.jpg
เส้น 20 ⟶ 19:
 
ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด [[นิเวศวิทยา]]และการแพร่กระจายขึ้นอยู่ตามที่รกร้างหรือขอบไร่ชายนา และบริเวณ[[ป่าพื้นราบ]] โดยเลื้อยพันกิ่งต้นไม้อื่น ๆ
== การใช้ประโยชน์ ==
ยอด ใช้เป็นผักสด มีรสขมเล็กน้อย หรือลวกจิ้มกับน้ำพริกและใช้แกงเลียง เมล็ดและเยื่อหุ้มเมล็ดรับประทานได้<ref>อรทัย เนียมสุวรรณ นฤมล เล้งนนท์ กรกนก ยิ่งเจริญ พัชรินทร์ สิงห์ดำ. 2555. [http://202.28.94.204/Dean/sci_journal/web/book/40_3/981.pdf พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของพืชกินได้จากป่าชายเลนและป่าชายหาดบริเวณเขาสทิงพระ จังหวัดสงขลา]. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 40 (3): 981 - 991</ref>
 
ต้นมีพิษ แต่ต้มสุกแล้วใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้บวม ใบใช้ตำพอกแผลเพื่อฆ่าเชื้อ แก้โรคผิวหนัง หิด ไข้หวัด ดอกใช้แก้ไอ ขับเสมหะ ผลดิบมีรสเบื่อ ผลสุกหวาน ใช้แก้ปวด บำรุงปอด รากใช้ต้มน้ำดื่มแก้เบาหวาน<ref>มัณฑนา นวลเจริญ. พรรณไม้ป่าชายหาด. ปทุมธานี. สำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2552 หน้า 9</ref>
ประโยชน์ทางด้านอาหาร ยอด ใช้เป็นผักสด มีรสขมเล็กน้อย หรือลวกจิ้มกับน้ำพริกและใช้แกงเลียง ผล ใช้กินเมล็ดและเยื่อหุ้มเมล็ด
ทางด้านสมุนไพร เนื้อไม้ ใช้เป็นยาควบคุมธาตุ ถอนพิษเบื่อเมาทุกชนิดและใช้รักษาบาดแผล ราก ใช้ต้มน้ำดื่มแก้ไข แก้กามโรค ใบ ใช้ตำให้ละเอียดแล้วคั้นเอาน้ำดื่มเป็นยาเบื่อและขับพยาธิ ดอก ขับเสมหะ แก้ไอ ผล แก้ปวด บำรุงปอด ใบสด ใช้พอกแก้สิว ต้น ใช้ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ แก้ไอ และอาการบวม{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์|Passiflora foetida}}
[[หมวดหมู่:ไม้เลื้อย]]
เส้น 28 ⟶ 31:
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:วงศ์กะทกรก]]
{{โครงพืช}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กะทกรก"