ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบอบเก่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า การปกครองระบบโบราณ ไปยัง ระบอบเก่า: ตามราชบัณฑิตฯ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=การปกครองระบบโบราณในฝรั่งเศส |เปลี่ยนทาง=}}
{{ใช้ปีคศ|width = 280px}}
[[ไฟล์:Louis XIV habillé en soleil.jpg|thumb|280px |[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] ในฐานะ “พระสุริยเทพ”]]
'''การปกครองระบบโบราณระบอบเก่า''' หรือ<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, '''การปกครองระบบเก่า'ราชวงศ์แห่งมหาอำนาจยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 19 : กษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ'', 2555, หน้า 177</ref> หรือ '''อองเซียงเรฌีม''' ({{lang-fr|'''Ancien Régime'''}}) เป็นภาษาฝรั่งเศสที่แปลมาเป็นภาษาไทยจากภาษาอังกฤษว่า ''การปกครองระบบเก่า'', ''อาณาจักรเดิม'' หรือง่ายๆ ว่า ''ระบบเก่า'' โดยทั่วไปหมายถึงระบบเจ้านาย,แบบ[[ราชาธิปไตย]] [[อภิชนาธิปไตย]] สังคม และการเมืองที่ใช้ในฝรั่งเศสภายใต้[[ราชวงศ์วาลัวส์ลัว]]และ[[ราชวงศ์บูร์บองบูร์บง]]ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18
 
โครงสร้างทางการบริหารและทางการสังคมของ ระบบระบอบเก่าเป็นผลมาจากระบบการบริหารของสถาบันพระมหากษัตริย์ของฝรั่งเศสใน[[สมัยกลาง]]ที่มาสิ้นสุดลงระหว่าง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]ในปี [[ค.ศ. 1789]] การปกครองระบบระบอบเก่าของประเทศอื่นๆอื่น ๆ ในยุโรปก็มีประวัติความเป็นมาคล้ายคลึงกัน แต่มีผลบั้นปลายที่แตกต่างกันบางประเทศก็สิ้นสุดลงด้วยระบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] บางประเทศก็แตกแยกออกไปจากสงครามและการปฏิวัติ
 
อำนาจของการปกครองระบบระบอบเก่าอยู่บนพื้นฐานสามประการ: [[พระมหากษัตริย์]], [[นักบวช]] และ[[ขุนนาง]] [[ฐานันดรแห่งรัฐ]] (Estates of the realm) ก็แบ่งออกเป็นสามประเภท: ฐานันดรที่หนึ่ง (First Estate) คือนักบวชโรมันคาทอลิก, ฐานันดรที่สอง (Second Estate) คือขุนนาง และ ฐานันดรที่สาม (Third Estate) คือประชาชนโดยทั่วไป
 
โดยทั่วไปแล้วการปกครองระบบระบอบเก่าหมายถึงระบบระบอบการปกครองใดใดที่มีลักษณะตามที่กล่าวแล้ว การปกครองระบบระบอบเก่ารักษาลักษณะหลายประการของ[[ระบบเจ้าครองนครขุนมูลนาย]] (feudalism) ที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเฉพาะในการใช้อภิสิทธิ์ของขุนนางและชนชั้นเจ้านายที่สนับสนุนโดยปรัชญาใน[[เทวสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์วสิทธิราชย์]] ความแตกต่างอยู่ตรงที่อำนาจการปกครองที่เคยเป็นของเจ้าครองนครต่างๆ มาก่อนกลายเป็นอำนาจของระบอบ[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ที่เพิ่มมากขึ้น
 
วลีนี้ใช้มาตั้งแต่[[ยุคภูมิปัญญาเรืองปัญญา]] (พบในเอกสารครั้งแรกในภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1794) ในความหมายในทางลบ เช่นเดียวกับการใช้คำว่า ''[[ยุคมืด]]'' ที่กลายมาเรียกกันว่า ''[[ยุคสมัยกลาง]]'' แนวคิดของการใช้คำว่าการปกครองระบบระบอบเก่าเป็นการแฝงความหมายเป็นนัยยะว่าเป็นระบบระบอบที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติ และควรจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น ''ระบบระบอบใหม่'' (New Order) คำว่า ''การปกครองระบบระบอบเก่า'' คิดขึ้นโดยนักปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อเผยแพร่สร้างความเชื่อถือในเหตุผลของการปฏิวัติและทำลายชื่อเสียงของระบบระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ซึ่งเป็นการใช้ในทางที่ไม่เป็นกลางในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์
 
สำหรับนักประพันธ์บางคนคำนี้เป็นคำที่ทำให้เกิดความรำลึกถึงเหตุการณ์บางอย่าง เช่นที่ตาล์ลีย์รองด์ (Talleyrand) กล่าวว่า: