ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฤษณา ไกรสินธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedrumIce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
RedrumIce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
ภายหลังลาออกจากองค์การเภสัชกรรม กฤษณาได้เริ่มต้นการทำงานใน[[ประเทศคองโก]]เป็นประเทศแรก และประสบความสำเร็จในการผลิตยาต้านเชื้อไวรัสเอดส์ชื่อ "Afrivir" โดยมีส่วนผสมเหมือนยาที่ผลิตในประเทศไทย หลังจากนั้นก็ได้ช่วยเหลือประเทศอื่นๆในทวีปแอฟริกากว่าอีก 4 ประเทศ ได้แก่ [[ประเทศเอริเทรีย]] [[ประเทศแทนซาเนีย|แทนซาเนีย]] [[ประเทศเบนิน|เบนิน]] และ[[ประเทศไลบีเรีย|ไลบีเรีย]]
 
ผลงานของกฤษณาเป็นที่สนใจในวงกว้างขึ้น เมื่อมีการนำไปตีพิมพ์เป็นส่วนหนึ่งของบทความภาษาเยอรมัน และมีการสร้างภาพยนตร์สารคดีชีวประวัติของเธอ เรื่อง ''อะไลฟ์ทูลิฟ - เอดส์เมดิเคชันออฟมิลเลียนส์'' ({{lang-en|A Right to Live - Aids Medication for Millions}}) ในปี [[พ.ศ. 2549]] รวมถึงการสร้างภาพยนตร์บรอดเวย์ชื่อ ''คอกเทลล์'' ({{lang-en|Cocktail}}) ในปี [[พ.ศ. 2550]] นอกจากนี้เธอยังได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก ({{lang-en|Global Scientist Award}}) จากมูลนิธิเลตเต็น [[ประเทศนอร์เวย์]] ประจำปี [[พ.ศ. 2547]]<ref>[http://www.mtholyoke.edu/offices/comm/csj/040805/commencement.shtml Commencement] Mount Holyoke College เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref> รางวัลบุคคลแห่งปีของเอเชียประจำปี พ.ศ. 2551<ref>[http://www.readersdigest.co.th/rd/rdhtml/th/magazine/mag_content.jsp?p=2&cid=5290 Asian of the Year: The Medicine Maker] เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref> และ[[รางวัลรามอน แมกไซไซ|รางวัลแมกไซไซ]]สาขาบริการสาธารณะประจำปี [[พ.ศ. 2552]]<ref>[http://www.oknation.net/blog/tabuji/2009/07/12/entry-1 อยากประกาศให้โลก (คนไทย) รู้.."ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์" เภสัชกร..ผู้ปิดทองหลังพระ] จากบล็อกของโอเคเนชัน เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref> ปัจจุบันกฤษณาดำรงตำแหน่งคณบดีเกียรติคุณของ[[คณะการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต]]<ref>คณะกรรมการจัดการประชุมเตรียมการสมัชชาเภสัชกรรมไทย 100 ปี (พ.ศ. 2556) '''การประชุมสมัชชาเภสัชกรรมไทย 96 ปี "บทบาทเภสัชกรในการผลิตยาเพื่อสังคม"; กรุงเทพฯ, 2552.</ref><ref>[http://www.rsu.ac.th/oriental_med/structure.html คณะแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต] เรียกข้อมูลวันที่ 6 มีนาคม 2554</ref> กรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยรังสิต เรียกข้อมูลวันที่ 6 มีนาคม 2554</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 26:
กฤษณาเกิดเมื่อวันที่ [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2495]] เป็นชาว[[เกาะสมุย]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] ทางตอนใต้ของ[[ประเทศไทย]] เป็นบุตรของร้อยตรี นายแพทย์สมคิดและนางเฉลิมขวัญ ไกรสินธุ์ ซึ่งทั้งสองเป็นผู้ประกอบทางวิชาชีพทางสาธารณสุข บิดาเป็นแพทย์และมารดาเป็นพยาบาล ส่วนอา พลเรือโทอรุณ ไกรสินธุ์ รับราชการทหารเรือ(ถึงแก่[[อนิจกรรม]]<ref>http://www.navy.mi.th/showfile3.php?id=3965</ref> วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2554<ref>http://board2.yimwhan.com/show.php?user=chayothorn&topic=10&Cate=3</ref>) กฤษณาเติบโตในวัยเยาว์ที่[[เกาะสมุย]] จนกระทั่งย้ายเข้ามาศึกษาระดับมัธยมศึกษา ณ [[โรงเรียนราชินี]] และเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] หลังจากนั้นเธอได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาโท สาขา[[เภสัชวิเคราะห์]] [[มหาวิทยาลัยสตรัชคไลด์]] และปริญญาเอก สาขา[[เภสัชเคมี]] [[มหาวิทยาลัยบาธ]] [[สหราชอาณาจักร]] ภายหลังสำเร็จการศึกษาแล้วเธอได้ทำงานเป็นอาจารย์ประจำ[[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมีในปี [[พ.ศ. 2524]] ก่อนจะลาออกมาทำงาน ณ สถาบันวิจัยและพัฒนา[[องค์การเภสัชกรรม]]
 
กฤษณาเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเชื้อไวรัส[[เอดส์]]ในประเทศไทย จนกระทั่งประสบความสำเร็จในการผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" เป็นครั้งแรกในโลก ในปี [[พ.ศ. 2538]] โดยประสบความสำเร็จในการผลิตยาชนิดแรกคือ "ZIDOVUDINE" (AZT) มีฤทธิ์ในการลดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก ภายหลังการค้นคว้าวิจัยต่อยากว่า 3 ปี ([[พ.ศ. 2536]] - [[พ.ศ. 2538|2538]]) หลังจากนั้นเธอได้ริเริ่มผลิตยาอีกหลายชนิด โดยเฉพาะยา "GPO-VIR" หรือยาต้นต้านเอดส์สตรีคอกเทลล์ ซึ่งเป็นการรวมตัวยารักษาโรคเอดส์กว่า 3 ชนิดในเม็ดเดียวเป็นครั้งแรกในโลก จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2542]] [[องค์การอนามัยโลก]]เชิญกฤษณาไปที่[[ทวีปแอฟริกา]]เพื่อช่วยเหลือด้าน[[เภสัชกรรม]] หลังจากนั้น ในปี [[พ.ศ. 2545]] กฤษณาจึงตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์การเภสัชกรรม
 
=== งานในทวีปแอฟริกา [2545 - ปัจจุบัน] ===
บรรทัด 33:
กฤษณาทำงานตามตารางงานของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งไม่มีความแน่นอน ในวันหนึ่งๆ เธออาจพักแรม ณ ประเทศหนึ่งและทำงานในอีกประเทศหนึ่ง ผลงานการทำงานของเธอได้ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์เยอรมันฉบับหนึ่ง ทำให้มีบุคคลสนใจในงานของเธอ และได้มีการนำไปสร้างภาพยนตร์เรื่อง ''อะไรต์ทีลีฟ - เอดส์เมดิเคชันออฟมิลเลียนส์'' ({{lang-en|A Right to Live - Aids Medication for Millions}}) ในปี [[พ.ศ. 2549]] ซึ่งได้รับรางวัลเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเมืองคานส์กว่า 3 รางวัล<ref>[http://www.nathoncity.com/paper/1155 เจาะชีวิตฉายา 'เภสัชกรยิปซี 'ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์' 'บุคคลแห่งปีเอเชีย' นักสู้เอดส์] Nathon City เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref><ref name="OK">[http://www.oknation.net/blog/tabuji/2009/07/12/entry-1 อยากประกาศให้โลก (คนไทย) รู้.."ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์" เภสัชกร..ผู้ปิดทองหลังพระ] จากบล็อกของโอเคเนชัน เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref> รวมถึงการสร้างภาพยนตร์บรอดเวย์สหรัฐอเมริกาชื่อ ''คอกเทลล์'' ({{lang-en|Cocktail}}) ในเปิดแสดงในเดือน[[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2550]]<ref name="PHA">[http://pha.narak.com/topic.php?No=12395 ดร. กฤษณา ไกรสินธุ์ เภสัชกรหญิง ผู้ปิดทองหลังพระ ผู้ผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ที่เร่ร่อนไปทั่วแอฟริกา] PHA เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref> นอกจากนี้เธอยังได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก ({{lang-en|Global Scientist Award}}) จากมูลนิธิเลตเต็น [[ประเทศนอร์เวย์]] ประจำปี พ.ศ. 2547 <ref>[http://www.mtholyoke.edu/offices/comm/csj/040805/commencement.shtml Commencement] Mount Holyoke College เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref> รางวัลบุคคลแห่งปีของเอเชียประจำปี พ.ศ. 2551<ref>[http://www.readersdigest.co.th/rd/rdhtml/th/magazine/mag_content.jsp?p=2&cid=5290 Asian of the Year: The Medicine Maker] เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</ref> รางวัลบุคคลดีเด่นของชาติ สาขาพัฒนาสังคม โดยคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ [[สำนักนายกรัฐมนตรี]]<ref name="SEED2"/> และ[[รางวัลรามอน แมกไซไซ|รางวัลแมกไซไซ]]สาขาบริการสาธารณะประจำปี [[พ.ศ. 2552]]<ref name ="OK"/>
 
กฤษณายังได้รับปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิติตมาศักดิ์จากวิทยาลัย Mount Holyoke สหรัฐอเมริกา และเภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จาก[[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]และ[[มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์]] ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นของโรงเรียนราชินีประจำปี นักศึกษาเก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบันกฤษณายังคงทำงานช่วยเหลือด้านเภสัชกรรมแก่ประเทศในแอฟริกา และดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาองค์กรช่วยเหลือด้านยาของเยอรมนี<ref name="SEED2"/> คณบดีของ[[คณะแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต]]<ref>คณะกรรมการจัดการประชุมเตรียมการสมัชชาเภสัชกรรมไทย 100 ปี (พ.ศ. 2556) '''การประชุมสมัชชาเภสัชกรรมไทย 96 ปี "บทบาทเภสัชกรในการผลิตยาเพื่อสังคม"; กรุงเทพฯ, 2552.</ref><ref>[http://www.rsu.ac.th/oriental_med/structure.html คณะแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต] เรียกข้อมูลวันที่ 6 มีนาคม 2554</ref> และคณบดี[[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต]]<ref>[http://www2.rsu.ac.th/content.aspx?p=senior-admin rsu.ac.th] กรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยรังสิต เรียกข้อมูลวันที่ 6 มีนาคม 2554</ref>
 
== ชีวิตส่วนตัว ==