ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาผู้ไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sunthorn Skulpone (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ภาษาผู้ไท''' (เขียน '''ผู้ไทย''' หรือ '''ภูไท''' ก็มี) เป็นภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได มีผู้พูดจำนวนไม่น้อย กระจัดกระจายในภูมิภาคต่างๆต่าง ๆ ของ[[ประเทศไทย|ไทย]] และ[[ประเทศลาว|ลาว]] เข้าใจว่า ผู้พูดภาษาผู้ไทมีถิ่นที่อยู่ดั้งเดิมอยู่ในเมือง '''นาน้อย อ้อยหนู''' ยังเป็นที่ถกเถียงกันว่า เมือง นาน้อยออ้ยหนูอ้อยหนู อันเป็นถิ่นฐานดั้งเดิมของ ผู้ไท อยู่ทีไหน เพราะปัจจุบันมีเมืองนาน้อยอ้อยหนูอยู่ถึง สามแห่ง ตะวันออกเฉียงใต้ของเมือง แถงหรือปัจจุบันคือจังหวัด[[เดียนเบียนฟู]] แห่งที่สองอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมือง แถง และแห่งที่สาม อยู่ห่างจาก เมือง ลอของเวียดนามประมาณ 10 กิโลเมตร

[[ชาวไทดำ]]กับผู้ไทเป็นคนละชาติพันธุ์กัน นัก ภาษาศาสตร์ สันนิฐานสันนิษฐานว่า อพยพแยกจากกันนานกว่า 15001,500 ปีมาแล้ว ในปัจจุบัน มีการจัดให้ภาษาผู้ไทเป็นกลุ่มย่อยของ[[ภาษาไทดำ]]นั้นซึ่งไม่ถูกต้อง ผู้ไทอพยพจาก นาน้อยอ้อยหนู ไปอยู่ที่ เมืองวังอ่างคำ ซึ่งคือเมือง วีละบุลีวีระบุรี ใน[[แขวง สะหวันนะสุวรรณเขต]] ของสาธาระณะรัฐประชาธิปไตย ประชาชน[[ประเทศลาว]] (สปป ลาว)ก่อนถูกกวาดต้อนมาอยู่ในดินแดนประเทศสยาม ไทยเมื่อไม่ถึง 200 ปีมานี้ ผู้ไทที่ถูกกวาดต้อนมาอยู่ฝั่งขวาแม่น้ำโขงมีจำนวนไม่น้อย แต่ผู้ไทซึ่งอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงแถบแขวงสะหวันนะสุวรรณเขต และ[[แขวงคำม่วน ]]ใน สปป ลาว ก็ยังมีประปราย มักจะเรียกผู้ไททั้งสองกลุ่มนี้รวมๆรวม ๆ กันว่า "ผู้ไทสองฝั่งโขง"
 
== ผู้พูดภาษาผู้ไท ==
ผู้พูดภาษาผู้ไทในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณจังหวัด[[ภาคอีสาน]]ตอนบน ได้แก่ [[จังหวัดกาฬสินธุ์]], [[จังหวัดนครพนม|นครพนม]], [[จังหวัดมุกดาหาร|มุกดาหาร]], [[จังหวัดร้อยเอ็ด|ร้อยเอ็ด]] และ [[จังหวัดสกลนคร|สกลนคร]] นอกจากนี้ยังมีอีกเล็กน้อยใน[[จังหวัดอุบลราชธานี]]และ[[จังหวัด|อุดรธานี]] โดย ในแต่ละท้องถิ่น ย่อมจะมีสำเนียงและคำศัพท์ที่แตกต่างกันไป
 
เป็นที่น่าสังเกตว่า ภาษาผู้ไทแม้จะกระจายอยู่ในแถบอีสาน แต่สำเนียงและคำศัพท์นั้นแตกต่างกับภาษาไทยถิ่นอีสานโดยทั่วไป อย่างไรก็ตามยังมีคำยืมจากภาษาถิ่นอีสานอยู่ในภาษาผู้ไทบ้างเป็นธรรมดา แต่ก็ไม่นับว่ามาก ด้วยเหตุนี้ ชาวไทยที่พูดภาษาอีสานจึงไม่สามารถพูดหรือฟังภาษาผู้ไทอย่างเข้าใจโดยตลอด แต่ชาวผู้ไทส่วนใหญ่มักจะพูดภาษาอีสานได้
เส้น 79 ⟶ 81:
 
== ลักษณะเด่นของภาษาผู้ไท ==
ลักษณะเด่นอื่นๆอื่น ๆ ของภาษาผู้ไท มีดังนี้
 
*เสียงท้ายคำถาม
** เผอ, ผิเหลอ, ผะเหลอ = อะไร
*: "นี้แม่นเผอ" = นี่คืออะไร
*: "เว้าผิเหลอหว่ะ" = พูดอะไรน่ะ
*: "จักแม่นผะเหลอ" = ไม่รู้อะไร
** เผ่อ, ผู้เหล่อ = ใคร
*: "แม้ ล่ะ ไป๋ เหย้ม เผ่อ" = แม่จะไปเยี่ยมใคร
*: "ผู้เหล่อล่ะไป๋กับข้อยแด่" = ใครจะไปกับผมบ้าง
เส้น 104 ⟶ 106:
** สระ อัว เป็น โอ
*: กล้วย - โก๊ย
** สระใอ (ไม้ม้วน) ในภาษาไทกลาง เมื่อพูดในภาษาผู้ไท มักออกเสียงสระเออ ดังนี้
*: ใหม่-เหม่อ
*: ใส่-เส่อ
*: หัวใจ-โหเจ๋อ
*: ใกล้-เข้อ, เก้อ
*: แกงมะเขือใส่เนื้อเสือ กินบนเรือ เพื่อกลับบ้าน-แกงมะเขอเส่อเน้อเสอ กินเทิงเฮอ เพ้อเมอเฮิน
** สระไอ (ไม้มลาย) ในภาษาไทยกลาง จะออกเสียง จัตวา (+)ในสำเนียงภูไท ดังนี้
*: ไป-ไป๋,
* ข บางคำจะออกเสียงเป็น ห, ค บางคำจะออกเสียงเป็น ฮ ดังนี้
** เข้า-เห้า, ข้า-ห้า, ค้าขาย-ฮ้าหาย
** คนห้าคนฆ่าคนห้าคน-ฮนห้าฮนห้าฮนห้าฮน
* คำที่สะกดด้วย -อก จะออกเสียง สระเอาะ เอาะ(เสียงสั้น) ดังนี้
** นอก-เน้าะ, จอก-เจ้าะ, คอก-เค่าะ, ปลอก-เป๊าะ
 
== อ้างอิง ==
* วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. ภาษาผู้ไท. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ, 2520.
*[http://www.phutai.thai-isan-lao.com/index-thai.html ภาษาผู้ไท] การศึกษาเปรียบเทียบภาษาผู้ไทในประเทศไทย และ ส.ป.ป.ประเทศลาว
*[http://www.phutai.thai-isan-lao.com/index.html Phutai Language] : A comparative study of the Phutai in Thailand and Laos P.D.R.
*[http://www.phutai.thai-isan-lao.com/phrases-thai.html โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูคุณค่าของภาษาผู้ไท]
เส้น 129 ⟶ 131:
 
{{ภาษาไทกะได}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศไทย|ผู้ทไไท]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาไตไท|ผู้ทไไท]]