ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
| notice = Indic}}
 
'''ภาษาไทดำ''' ({{lang-en|Tai Dam language, Black Tai language}}; [[ภาษาจีน]]:''Dǎidānyǔ'' {{lang-zh|傣担语}}, Dǎidānyǔ) มีผู้พูดทั้งหมด 763,700 คน อาศัยอยู่ในระหว่าง[[แม่น้ำแดง]]กับ[[แม่น้ำดำ]] (ภาคเหนือของ[[ประเทศเวียดนาม]]) 699,000 คน (พ.ศ. 2545) ทางภาคเหนือระหว่างอยู่ใน[[แม่น้ำแดงแขวงคำม่วน]]และ [[แม่น้ำดำประเทศลาว]] อยู่ในลาว 50,000 คน (พ.ศ. 2538) อยู่ใน[[แขวงคำม่วน จังหวัดเลย]] อยู่ใน[[ประเทศไทย]] 700 คน (พ.ศ. 2547) ใน[[จังหวัดเลย]] อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยเมื่อ [[พ.ศ. 2428]] ลาวโซ่งก็คือคนไตไทดำกลุ่มแรกที่เข้ามาสู่ประเทศไทยในสมัย[[พระเจ้ากรุงธนบุรี]] นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษานี้ใน[[ออสเตรเลีย]] [[จีน]] [[ฝรั่งเศส]] และ[[สหรัฐอเมริกา]]
 
มีผู้พูดภาษานี้ใน[[ออสเตรเลีย]] [[จีน]] [[ฝรั่งเศส]] ไทยและสหรัฐ ไทดำอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำกัม-ไตไท สาขาเบ-ไตไท สาขาย่อยไตไท-แสก อัตราการรู้หนังสือภาษาแม่ราวร้อยละ 1- 5% เป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยที่สำคัญในเวียดนาม
 
== อ้างอิง ==
เส้น 34 ⟶ 35:
{{ภาษาไทกะได}}
{{ภาษาทางการอาเซียน}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศไทย|ทไดำไทดำ]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเวียดนาม|ทไดำไทดำ]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศลาว|ทไดำไทดำ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาไตไท|ทไดำไทดำ]]
{{โครงภาษา}}