ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมชลศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Togshimi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Togshimi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
=== ความต่อเนื่องการไหล ===
• ความต่อเนื่องของของไหลเกิดขึ้นเมื่อของไหลมีช่องวาสงของของไหลมากกว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของโมเลกุล ซึ่งโมเลกุลจะไม่อยู่กับที่แต่จะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ
 
• ในการศึกษาสมมติของไหลให้มีความต่อเนื่องเพื่อเป็นการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ซึ่งง่ายในการคำนวณ แต่สามารถใช้ได้ในของไหลระยะทางใกล้ๆ เท่านั้น
 
• การวิเคราะห์พลังงานระดับมหภาค (Macroscopic) เป็นการวิเคราะห์ทั้งความดัน(Pressure) อุณหภูมิ (Temperature) และปริมาตร (Volume) อาจเรียกว่าอุณหพลศาสตร์ดั้งเดิม (Classical thermodynamics) เป็นการศึกษาในเรื่องกลศาสตร์ของไหล
 
 
=== มิติและหน่วย ===
 
• มิติ(Dimension) และหน่วย(Units) ใช้แสดงปริมาณของสิ่งต่างๆ
 
• ระบบหน่วยวัดมาตรฐานระหว่างชาติดั้งเดิมมีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบเมตริก (CGS และMKS) และระบบอังกฤษ (FPS)
 
• ระบบหน่วยสากล (SI Unit) เป็นระบบหน่วยระหว่างประเทศ (International System of Units) หรือระบบเอสไอ (SI) คือ ระบบหน่วยมาตรฐานที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO หรือ International Organization for Standardization)
 
• ระบบหน่วยสากลประกอบด้วยหน่วยมูลฐาน (Basic unit) หน่วยเสริม (Supplementaryunit) หน่วยอนุพันธ์ (Derived unit) และคำอุปสรรค (Prefixes)
 
=== สมบัติของสนามการไหล ==
• เมื่อมีแรงภายนอกมากระทำกับวัตถุจะทำให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ทำให้เกิดงาน
 
• พลังงานมีสองรูปแบบ คือ พลังงานจลน์ (Kinetic energy) และพลังงานศักย์ (Potentialenergy)
 
• นำสมการของพลังงานไปสร้างให้เกิดสมการการเคลื่อนที่ได้ อาศัยกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเป็นหลัก
 
• สมการทางพลศาสตร์ของการเคลื่อนที่อธิบายโดยสมการออยเลอร์-ลากรางจ์ (Eulerian -Lagrangian equations)
 
• สมการออยเลอร์ (Eulerian equation) กล่าวถึงสนามการไหล (Flow field) ที่ใช้ในการคำานวณหาสนามความดัน (Pressure field) ศึกษาการเคลื่อนที่ในทิศทางตามแนวแกน x แกนy และแกน z เทียบกับเวลา เขียนสั้นๆ ได้ว่า P (x,y,z,t) สนใจสสารในรูปของไหล ผลที่ได้จาก
สมการ คือ รูปแบบการไหล (Flow pattern) นำมาศึกษาในกลศาสตร์ของไหล