ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทากทะเล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mercedes Bio (คุย | ส่วนร่วม)
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
อันนั้นต้องเป็นหน้าทากหนามม่วงครับผม
บรรทัด 1:
{{ปรับรูปแบบ}}
{{Taxobox
| name = ทากหนามม่วงทะเล
| image = Red Sea Nudibranch.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = ทากหนามม่วงทะเลไม่ทราบชนิด ที่[[ทะเลแดง]]
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Mollusca]]
| classis = [[Gastropoda]]
| subclassisordo = [[Opisthobranchia]]
| ordosubordo = '''Nudibranchia'''
| subdivision_ranks = Infraorders
| subordo = '''Aeolidina'''
| subdivision =
| family = '''Fabellindae'''
*[[Anthobranchia]]<br />
| genus = ''Flabellina''
*[[Cladobranchia]]<br />
| species = ''F.rubrolineata''
 
}}
 
'''ทากหนามม่วงทะเล''' ({{lang-en|Nudibranch, PurpleSea Flabellinaslug}}) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวก[[มอลลัสกา]] เช่นเดียวกับหอย และหมึก จัดอยู่ใน[[หอยฝาเดียว|ชั้นหอยฝาเดี่ยว]] ในอันดับย่อย Nudibranchia
 
ทากทะเล มีลักษณะเด่น คือ ไม่มี[[เปลือกหอย|เปลือก]]ห่อหุ้มลำตัว เพราะเปลือกลดรูปจนมีขนาดเล็กคลุมตัวไม่มิด หรือไม่มีเปลือกเลย ทากทะเลส่วนใหญ่มีสีสวยสดงดงาม บางชนิดมีหลายสีบนตัวเดียวกัน และสามารถปรับสีของตัวให้เข้ากับสภาพของแหล่งอาศัย สีที่ฉูดฉาดของทากทะเลทำให้สัตว์อื่นหลีกเลี่ยงที่จะกินเป็นอาหาร เพราะทากทะเลจะสร้างสารเคมีที่เป็นพิษสะสมไว้ตามผิว เพื่อป้องกันตัว บางชนิดมีอวัยวะช่วยหายใจอยู่ทางด้านบนของหัวหรือลำตัว ซึ่งอาจมีลักษณะเป็นเส้น เป็นกระจุก หรือเป็นแผ่น หรือคล้าย[[เขาสัตว์|เขา]] และเป็นสัตว์ที่ไม่มีตาสำหรับการมองเห็น<ref>''ความหวัง'', "มหัศจรรย์พันธุ์ลึก" .สารคดีทางไทยพีบีเอส: ศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2556</ref> ส่วนมากอาศัยอยู่ในแนวปะการัง และบริเวณใกล้เคียง กินอาหารพวกสาหร่าย, ฟองน้ำ, ดอกไม้ทะเล, ปะการังอ่อน, กัลปังหา และเพรียงหัวหอม ทั่วโลกพบประมาณ 2,000 [[species|ชนิด]] ในน่านน้ำไทยสำรวจพบประมาณ 100 ชนิด เช่น ทากเปลือย เป็นต้น<ref>''หอยกาบเดี่ยวและทากทะเล (Class Gastropoda)'', "หอยในทะเลไทย". สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม 34 : โดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 328 หน้า (กรุงเทพฯ, 2552) ISBN 9748185842</ref>
===สัตว์มหัศจรรย์ อัญมณีแห่งท้องทะเล===
ทากหนามม่วงถูกจัดอยู่ใน Sub-order Aeolidina ซึ่งทากกลุ่มเดียวที่มีลักษณะพิเศษ คือ ducts of the digestive glands และ cnidosacs ที่ยืนยาวออกมานอกลำตัว มีลักษณะคล้ายขนหรือหนาม ตั้งอยู่ตลอดกลางแนวลำตัว และมี cerata อยู่รอบๆข้างของ digestive glands และ cnidosacs แต่ cerataจะมีขนาดเล็กและสั้นกว่า (cereta คืออวัยวะที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สแทน gills )
ทากหนามม่วง มีขนาดลำตัวยาว 4 เซนติเมตร รูปร่างยาว ลำตัวสีม่วงลำตัวสีม่วงอ่อนหรือสีขาว cerata ขึ้นเป็นกลุ่ม อยู่เป็นแถว <br />
ส่วนโคนสีคล้ายลำตัว ปลายสีม่วงแก่ ส่วนหัวมีหนวด Oral tentacle สีคล้ายลำตัว มีแถบสีม่วงอยู่กลางหนวด Rhinophore สีเหมือน Cerata <br />
มีการเคลื่อนที่โดยการใช้ส่วน food ที่อยู่ใต้ mantle เคลือบคลานไปตามพื้นผิวต่างๆ ([http://www.youtube.com/watch?v=FeyJEWIEZr8&hd=1การเคลื่อนที่ของทากเปลือย]) <br />
การป้องกันตัวเป็นแบบเดียวกับทากหนามทั้งหลาย จะกินเข็มพิษของไฮดรอย์เข้าไป ก่อนนำมาที่ปลาย Cerata
{|
|-
| บริเวณที่พบได้ || พื้นทราย /กองหิน/แนวปะการัง
|-
|พฤติกรรม || อยู่ตัวเดียวหรือเป็นกลุ่ม
|-
|กินอาหาร || ไฮดรอยด์ ([http://footage.shutterstock.com/clip-2332283-stock-footage-red-lined-nudibranch-flabellina-rubrolineata-feeding-underwater-in-fiji-islands.htmlการกินอาหาร])
|-
| สถานภาพ || Common
|-
| จุดที่พบในประเทศไทย || หมู่เกาะสุรินทร์ สิมิลัน จ.พังงา , เกาะพุง หมู่เกาะพีพี จ.กระบี่ , เกาะเฮ จ.ภูเก็ต
|-
|ความลึกที่พบ || 10-20 เมตร
|}
<br />
 
==='''ภาระหน้าที่ของเจ้าตัวเล็ก'''===
ทากหนามม่วงมีสีสันที่สวยงามและมีรูปร่างที่แปลกตาน่าสนใจ อีกทั้งไม่สามารถหาชมได้ทั่วไปบนบก ต้องดำน้ำลงไปดูใต้ทะเลจึงเป็นที่ชื่นชอบของนักดำน้ำ และนักถ่ายภาพใต้ ทำให้มีประโยชน์ทางด้านการท่องเที่ยว ซึ่งการดำน้ำแต่ละครั้งจะมีค่าใช้จ่ายมากพอสมควร <ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ และคณะ) แม้ทากหนามม่วงจะสามรถพบได้ทั้งฝั่งทะเลอันดามัน อ่าวไทย และมีสถานะที่พบได้ค่อนข้างบ่อยครั้ง แต่เนื่องจาก ทากหนามม่วงมีขนาดเล็กจึงต้องใช้เวลาในการตามหาบ้าง ทุกสิ่งมีชีวิตเกิดมาล้วนมีคุณค่าในตัวของสิ่งมีชีวิตเอง ทากหนามม่วงก็เช่นกัน เพราะอาหารของทากเปลือยคือสัตว์ในพวกไฮดรอยด์หรือขนนกทะเล ([http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_1_001c.asp?info_id=83>รูปร่างขนนก]) ทากหนามม่วงจึงทำหน้าที่ควบคุมประชากรของขนนกทะเลในแนวปะการัง ไม่ให้มีมากเกินไป เพราะการที่มีสิ่งมีชีวิตอื่นในแนวปะการังมากเกินไปจะทำให้ตัวอ่อนของปะการังไม่สามารถลงเกาะได้ <สุชนา ชวนิตย์ และคณะ>อีกทั้งตัวทากหนามม่วงเองก็ยังเป็นอาหารให้กับกลุ่มสิ่งมีชีวิตอื่นทั้งในระยะ ไข่ ตัวอ่อน และตัวเต็ม จึงถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อาหารในแนวปะการัง
<br />
 
==='''วงศาคณาญาติในน่านน้ำไทย '''===
ทากเปลือยในสกุลนี้ทั่วโลกมี 30 ชนิด <ref> แต่ในประเทศไทยมีการรายงานพบเพียง 3-4 ชนิดเท่านั้น คือ F.biocolor , F.exoptata , F.indica , และF.rubrolieata ซึ่งจะสัมพันธ์กับการกระจายทางภูมิศาสตร์ในเขต Indo-West Pacifi และเขต Circumtropical โดยในแต่ละพื้นที่ที่พบก็จะมีลักษณะหรือสีที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ชนิดของอาหารที่กิน <ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ และคณะ><Nudibran of the world> การศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการโดยการใช้ข้อมูลทางพันธุกรรมในทากสกุลนี้ยังไม่มีข้อมูลการศึกษา โดยเฉพาะทากเปลือยที่กล่าวมายังไม่ข้อมูลการศึกษาทางพันธุกรรมเลย แต่มีการศึกษาในทากเปลือยชนิด F. verrucosa ที่ลักษณะของรูปร่างที่แตกต่างกัน ( 2 From) ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ใช้ตำแหน่งของยีน COI ในไมโตคอนเดรียและยีน 5.8S-ITS2 ในนิเคลียส ซึ่งได้ผลการทดลองว่าทั้ง 2 form เป็นชนิดเดียวกัน แต่มีรูปร่างที่แตกต่างกันเท่านั้น<http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1439609205000772#>
 
<br />
==='''ปรับเปลี่ยนเพื่ออยู่รอด'''===
====การป้องกันตัวเข็มพิษจากไฮดรอยด์====
ทากหนามม่วงและทากในกลุ่ม Arminina จะมีการนำเข็มพิษที่ได้จากการกินเข็มพิษไฮดรอยด์เข้าไป จากนั้นจะเคลื่อนเข็มพิษไปยังปลาย cerata และ cnidosacs เพื่อใช้ป้องกันตัวเมื่อมีศัตรูมาทำร้าย โดยเข็มพิษจะถูกปล่อยออกไป เมื่อศัตรูมาสัมผัส <การทำงานของเข็มพิษ>
<br />
====การเพิ่มพื้นที่การรับกลิ่น====
ทากหนามม่วงและทากเปลือยทุกชนิดจะมีอวัยวะที่เรียกว่าไรโนฟอร์ (Rhinophore)ซึ่งเป้นอวัยวะที่ไว้ใช้ในการรับสัมผัสสารเคมีในมวลน้ำ ซึ่งเปรียบได้กับการดมกลิ่น ทากเปลือยแต่ละชนิดจะมีรูปแบบของไรโนฟอร์ที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ชนิด การมีไรโนฟอร์รูปแบบต่างๆจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรับสัมผัสสารเคมีได้มากขึ้น ซึ่งทากหนามม่วงจะมีไรโนฟอร์แบบ Perfoliate
<br />
====การหายไปของเหงือก (Gills)====
ทากเปลือยทุกชนิดจะมีเหงือกเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สกับน้ำทะเล โดยปกติเหงือกจะอยู่บริเวณหลังของทากเปลือย แต่ในทากหนามม่วงจะมีการลดรูปและปรับเปลี่ยนไปของเหงือก โดยเหงือกจะกลายเป็น Cerata ที่เป็นเส้นๆลักษณะคล้ายกับ ducts of the digestive glands ที่อยู่ตลอดแนวลำตัว และยังมี Cnidosacs ที่ปลาย Cerata อีกด้วย ทั้งนี้เพื่อป้องกันสิ่งมีชีวิตที่จะมาตอดกินเหงือกของทากหนามม่วง
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{commonscat|Nudibranchia }}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies|Nudibranchia }}
[[หมวดหมู่:สัตว์ทะเล]]
[[หมวดหมู่:หอยฝาเดี่ยว]]
{{โครงสัตว์}}