ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาร์ลี แชปลิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 26:
 
=== เข้าสู่วงการแสดง ===
[[Fileไฟล์:Charlie chaplin karno portrait.jpg|thumb|left|120px|ในช่วงปี 1912–1913]]
 
แชปลินได้มีโอกาสเดินทางไปอเมริกาโดยร่วมไปกับคณะละครของเฟรด คาร์โน และได้รับการติดต่อให้แสดงภาพยนตร์ของบริษัทคีย์สโตน แชปลินสร้างความชื่นชอบให้แก่ผู้ชมด้วยภาพของตัวตลกที่สวมเสื้อคับ กางเกงหลวม รองเท้าขนาดใหญ่ สวมหมวกใบจิ๋ว ควงไม้เท้า และติดหนวดแปรงสีฟันเหนือริมฝีปากภาพยนตร์ทุกเรื่องของแชปลินทำรายได้อย่างงดงามเป็นที่กล่าวขวัญตามหน้าหนังสือพิมพ์และร้านกาแฟ หลังจากที่ประสบความสำเร็จทางด้านการแสดง แชปลินก็ขอเขียนบทและกำกับการแสดงเอง
 
[[Fileไฟล์:The Tramp Essanay.jpg|thumb|130px|ตัวละครที่มีชื่อเสียงที่สุดของแชปลินคือ "คนจรจัด" (The Tramp)]]
ผลงานเรื่องแรกของเขาคือเรื่อง Caught in the Rain ในเวลา 1 ปี บริษัทคีย์สโตนก็มีหนังที่แชปลินแสดงถึง 35 เรื่อง แต่ละเรื่องทำรายได้สูงทั้งสิ้น ในระหว่างนี้แชปลินมีรายได้อาทิตย์ละ 200 เหรียญ เมื่อสัญญาครบ 1 ปี แชปลินก็ลาออกจากคีย์สโตนเพราะบริษัทฯ ไม่สามารถจ่ายค่าตอบแทนอาทิตย์ละ 1,000 เหรียญตามที่เขาเรียกร้องได้
 
บรรทัด 56:
 
=== ถูกว่าเป็นลัทธิคอมมิวนิสต์ ===
[[Fileไฟล์:Dictator charlie3charlie3.jpg|thumb|left|180px180px|''The Great Dictator'' (1940)]]
 
ในปี 1940 ชาร์ลี แชปลินสร้างภาพยนตร์เรื่อง ''The Great Dictator'' เป็นภาพยนตร์ล้อเลียน[[ฮิตเลอร์]] เป็นภาพยนตร์เสียงเรื่องแรกของชาร์ลี แชปลิน ซึ่งสอดแสกความคิดทางการเมืองของเขาไปด้วย เป็นเรื่องของฮิงเกลผู้นำตลอดกาลแห่งรัฐโทมาเนีย ผู้นำที่บ้าคลั่งอำนาจและสงครามและมีความฝันสูงสุดคือการที่จะได้ครองโลก โดยเดินเรื่องคู่ไปกับ ช่างตัดผมชาวยิว ที่หน้าตาเหมือนกันกับผู้นำฮิงเกล ที่เคยไปออกรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเมื่อกลับมาก็ป่วยอยู่ในโรงพยาบาลโรคจิตนับสิบปี จนเมื่อออกมาจากโรงพยาบาล ก้พบว่าบ้านเมืองของเขาภายใต้การปกครองของฮิงเกล ไม่ได้เหมือนเดิมอีกต่อไป
บรรทัด 62:
แชปลินในขณะนั้นถึงเป็นมหาเศรษฐีแต่ก็มีปัญหาอย่างหนักเรื่องทัศนคติทางการเมือง โดยเฉพาะเขากำลังถูกจับตามองจากรัฐบาลอเมริกาในข้อหาฝักใผ่ลัทธิคอมมิวนิสต์ <ref>[http://www.oknation.net/blog/kakalot/2009/03/27/entry-1 The Great Dictator - อย่าฟังคนบ้า จะพาไปตาย]</ref> ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้ประสบความสำเร็จด้านวิจารณ์และประสบความสำเร็จอย่างดีด้านรายได้ <ref>[http://www.phongphit.com/older/content/view/272/54/ The Great Dictator สยบเผด็จการด้วยเสียงหัวเราะ]</ref>
 
ในปี 1947 ชาลี แชปลิน ได้สร้าง กำกับ และแสดงภาพยนตร์ขาวดำออกมาเรื่อง ''Monsieur Verdoux'' เป็นภาพยนตร์ตลก เกี่ยวกับ[[ฆาตกรต่อเนื่อง]]ชาวฝรั่งเศษฝรั่งเศส บทภาพยนตร์อ้างอิงมาจากเรื่องจริง ภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ได้รับความนิยม อีกทั้งยังถูกต่อต้านจากหลายฝ่ายในประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกากล่าวหาว่าแชปลินเป็นพวกฝักใฝ่[[คอมมิวนิสต์]] อีกทั้งก่อนที่ภาพยนตร์เรื่องนี้จะได้ฉาย แชปลินโดนแกล้งจากฝ่ายเซนเซอร์ของรัฐบาลอเมริกา และจากความผิดหวังกับประเทศสหรัฐอเมริกาในครั้งนี้ ทำให้เขาถูกโจมตีว่าเป็นผู้นิยม[[ลัทธิคอมมิวนิสต์]] เนื่องจากเขามีความคิดทางการเมืองที่ขัดกับรัฐบาล นั่นเป็นเหตุผลที่ทำให้เขาพร้อมกับครอบครัวต้องถูกสั่งออกจากอเมริกาและห้ามเข้าอเมริกาอีก ในปี 1952<ref>[http://spookypooky.blogspot.com/2010/08/monsieur-verdoux-1947.html หนังตลกที่ตลกไม่ออกของ ชาลี แชปลิน Monsieur Verdoux (1947)]</ref><ref>[http://syntaxeorror.blogspot.com/2012/01/blog-post.html ข้อคิดจาก ตลกระดับโลก ชาร์ลี แชปลิน ในยุคแห่งความเกลียดชังในอเมริกา (ไทย)]</ref>
[[Fileไฟล์:Chaplin oscar.JPG|thumb|190px|[[แจ็ก เลมมอน]] (ซ้าย) แชปลิน (ขวา) ขึ้นรับรางวัลออสการ์เกียรติยศ ในปี 1972]]
 
=== ช่วงบั้นปลายชีวิต ===