ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
บรรทัด 28:
}}
 
'''แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะกุ พ.ศ. 2554''' ({{ญี่ปุ่น|東北地方太平洋沖地震|Tōhoku Chihō Taiheiyō-oki Jishin<ref name="JMA1">{{cite web|author=気象庁 Japan Meteorological Agency |url=http://www.jma.go.jp/jma/press/1103/11c/201103111620.html |title=平成23年3月11日14時46分頃の三陸沖の地震について(第2報) 気象庁 &#124; 平成23年報道発表資料 | publisher =JMA | place = JP | language = Japanese |date= |accessdate=11 March 2011}}) </ref>}}) เป็น[[แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์]]เกิดใต้ทะเล ขนาด 9.0 [[แมกนิจูด]] นอกชายฝั่ง[[ญี่ปุ่น]] เกิดขึ้นเมื่อเวลา 14.46 น. ตาม[[เวลามาตรฐานญี่ปุ่น]] (05:46 [[UTC]]) เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554<ref name="USGS9.0"/><ref name="New Scientist">{{cite journal|url=http://www.newscientist.com/blogs/shortsharpscience/2011/03/powerful-japan-quake-sparks-ts.html|title=Japan's quake updated to magnitude 9.0 |edition = Short Sharp Science |journal = [[New Scientist]] |date=11 March 2011|first=Michael|last=Reilly|accessdate=11 March 2011}}</ref><ref name="New USGS number puts Japan quake at 4th largest">{{cite news|title=New USGS number puts Japan quake at 4th largest|url=http://www.cbsnews.com/stories/2011/03/14/501364/main20043126.shtml|newspaper=[[CBS News]]|date={{date|2011-3-14}}|accessdate={{date|2011-3-15}}}}</ref> จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวมีรายงานว่า อยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของ[[คาบสมุทรโอชิกะ]] [[โทโฮะกุ]] โดยมี[[จุดเกิดแผ่นดินไหว]]อยู่ลึกลงไปใต้พื้นดิน 32 กิโลเมตร<ref>{{cite news|title=Séisme et tsunami dévastateurs: plus de 1000 morts et disparus au Japon|url = http://www.leparisien.fr/tsunami-pacifique/seisme-et-tsunami-devastateurs-plus-de-1000-morts-et-disparus-au-japon-11-03-2011-1352998.php|newspaper=[[Le Parisien]] | date =11 March 2011|accessdate=12 March 2011|language= French| trans_title=Devastating quake and tsunami: more than 1,000 deaths and many more missing in Japan}}</ref><ref name="BBC1">{{cite news|url = http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-12709598|work=[[BBC News]]|title= Tsunami hits north-eastern Japan after massive quake| date =11 March 2011| location = UK | accessdate= 11 March 2011}}</ref> นับเป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในห้าแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดของโลกเท่าที่มีการบันทึกสมัยใหม่มาตั้งแต่ พ.ศ. 2443<ref name="New USGS number puts Japan quake at 4th largest" /><ref>{{cite news|url=http://www.guardian.co.uk/world/2011/mar/13/japan-tsunami-earthquake-power-cuts|title=Tsunami, earthquake, nuclear crisis – now Japan faces power cuts|last=Branigan|first=Tania|date=2011-03-13|work=[[The Guardian]]|accessdate=2011-03-15|archiveurl=http://www.webcitation.org/5xDAT05x0|archivedate=2011-03-15}}</ref><ref name="3news">{{cite news|url=http://www.3news.co.nz/Japan-quake---7th-largest-in-recorded-history/tabid/417/articleID/201998/Default.aspx|title=Japan quake – 7th largest in recorded history|accessdate=2011-03-11|date=2011-03-11}}</ref> และก่อให้เกิด[[คลื่นสึนามิ]]ทำลายล้างซึ่งสูงที่สุดถึง 40.5 เมตร ในมิยาโกะ [[อิวาเตะ]] โทโฮะกุ <ref>[http://web.archive.org/20110511061110/www3.nhk.or.jp/daily/english/13_04.html March 11th tsunami a record 40.5 meters high [[NHK]]]</ref><ref name="yomiuri">[[Yomiuri Shimbun]] evening edition 2-11-04-15 page 15, nearby Aneyoshi fishery port (姉吉漁港) (Google map E39 31 57.8, N 142 3 7.6) 2011-04-15, [http://www.yomiuri.co.jp/science/news/20110415-OYT1T00389.htm 大震災の津波、宮古で38.9 m…明治三陸上回る] by okayasu Akio (岡安 章夫) {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5y2aMlkNh|date=18 April 2011}}</ref> บางพื้นที่พบว่าคลื่นได้พัดพาลึกเข้าไปในแผ่นดินลึกถึง 14 กิโลเมตร<ref name=roland>{{cite web|author=Roland Buerk|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-12709598 |title= Japan earthquake: Tsunami hits north-east |publisher=BBC | work = News | location = UK |date= |accessdate=12 March 2011}}</ref> และมีคลื่นที่เล็กกว่าพัดไปยังอีกหลายประเทศหลายชั่วโมงหลังจากนั้น ได้มีการประกาศเตือนภัยสึนามิและคำสั่งอพยพตามชายฝั่งด้านแปซิฟิกของญี่ปุ่นและอีกอย่างน้อย 20 ประเทศ รวมทั้งชายฝั่งแปซิฟิกทั้งหมดของประเทศ[[อเมริกาเหนือ]]และ[[อเมริกาใต้]]<ref name="autogenerated2">{{cite web|url=http://www.weather.gov/ptwc/text.php?id=pacific.2011.03.11.073000|title=Tsunami bulletin number 3|publisher=Pacific Tsunami Warning Center/NOAA/NWS|date=11 March 2011|accessdate=11 March 2011}}</ref><ref name="autogenerated3">{{cite web|author= Wire Staff |url=http://edition.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/03/11/tsunami.warning/index.html |title=Tsunami warnings issued for at least 20 countries after quake | publisher= CNN |date=11 March 2011 |accessdate=11 March 2011}}</ref><ref name="autogenerated4">{{cite web| url= http://www.weather.gov/ptwc/text.php?id=pacific.2011.03.11.103059 |title=PTWC warnings complete list |date= | accessdate=11 March 2011}}</ref> ซึ่งนอกเหนือไปจากการสูญเสียชีวิตและการทำลายล้างโครงสร้างพื้นฐานของญี่ปุ่นแล้ว คลื่นสึนามิดังกล่าวยังก่อให้เกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์ขึ้น ซึ่งหลัก ๆ เป็นอุบัติเหตุแกนปฏิกรณ์ปรมาณูหลอมละลายระดับ 7 ใน[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ]] และการกำหนดพื้นที่อพยพได้มีผลกระทบถึงราษฎรนับหลายแสนคน<ref name="autogenerated2">[http://www.ktvz.com/news/28143212/detail.html Japan: 3 Nuclear Reactors Melted Down - News Story - KTVZ Bend<!-- Bot generated title -->]</ref><ref>{{cite news |url=http://www.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/06/06/japan.nuclear.meltdown/index.html |title=3 nuclear reactors melted down after quake, Japan confirms |work=CNN |accessdate=2011-06-06}}</ref> แผ่นดินไหวดังกล่าวรุนแรงเสียจนทำให้[[เกาะฮอนชู]]เลื่อนไปทางตะวันออก 2.4 เมตร พร้อมกับเคลื่อนแกนหมุนของโลกไปเกือบ 10 เซนติเมตร<ref name="Deutsche Welle">{{cite news|title=Quake shifted Japan by over two meters|url=http://www.dw-world.de/dw/article/0,,14909967,00.html|work=[[Deutsche Welle]]|date=March 14, 2011|accessdate=March 14, 2011}}</ref><ref>{{cite news | url = http://www.nytimes.com/2011/03/14/world/asia/14seismic.html | title = Quake Moves Japan Closer to U.S. and Alters Earth's Spin | author = Kenneth Chang | work = [[The New York Times]] | date = March 13, 2011 | accessdate = 2011-03-14 }}</ref>
 
นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น [[นะโอะโตะ คัง]] กล่าวว่า "ในช่วงเวลาหกสิบห้าปีนับตั้งแต่สิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] วิกฤตการณ์ครั้งนี้นับว่าร้ายแรงและยากลำบากที่สุดสำหรับญี่ปุ่น"<ref>{{cite news|url=http://edition.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/03/13/japan.quake/index.html?iref=NS1 | title=Japanese PM: 'Toughest' crisis since World War II | publisher=CNN | work=[[CNN International]] | date=13 March 2011 |accessdate=13 March 2011}}}</ref> สำนักงานตำรวจแห่งชาติญี่ปุ่น ระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 15,729 ราย บาดเจ็บ 5,719 ราย และสูญหาย 4,539 ราย ในพื้นที่สิบแปด[[จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น|จังหวัด]] เช่นเดียวกับอาคารที่ถูกทำลายหรือได้รับความเสียหายกว่า 125,000 หลัง<ref name="Template:2011 Tōhoku earthquake and tsunami casualties NPA"/><ref name="Template:2011 Tōhoku earthquake and tsunami casualties NPA-JP"/> แผ่นดินไหวครั้งนี้สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงต่อประเทศญี่ปุ่น รวมทั้งความเสียหายอย่างหนักต่อถนนและรางรถไฟ เช่นเดียวกับเหตุเพลิงไหม้ในหลายพื้นที่ และเขื่อนแตก<ref name=roland/><ref>Saira Syed – [http://www.bbc.co.uk/news/business-12756379 "Japan quake: Infrastructure damage will delay recovery"] – 16 March 2011 – ''BBC News'' – Retrieved 18 March 2011. {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5xF8vSig6|date=17 March 2011}}</ref> บ้านเรือนราว 4.4 ล้านหลังคาเรือนทางตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่นไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้ และอีก 1.5 ล้านคนไม่มีน้ำใช้<ref name="nhk-english-stream">{{cite web | url=http://www3.nhk.or.jp/nhkworld/r0/high.asx | title=NHK WORLD English | accessdate=March 12, 2011 | date=March 12, 2011 | publisher=NHK}}</ref> เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหลายเครื่องไม่สามารถใช้การได้ และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์อย่างน้อยสามเครื่องได้รับความเสียหาย เนื่องจากแก๊ส[[ไฮโดรเจน]]ที่เกิดขึ้นในอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ชั้นนอก และยังได้มีการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]] [[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ]]เกิดระเบิดขึ้นเกือบ 24 ชั่วโมงหลังเหตุแผ่นดินไหวครั้งแรก อย่างไรก็ตาม แรงระเบิดในพื้นที่ไม่รวมสาร[[กัมมันตรังสี]]อยู่ด้วย<ref>{{cite web|author=By the CNN Wire Staff |url=http://edition.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/03/12/japan.nuclear/ |title=Report: Explosion at Japanese nuclear plant |publisher=Edition.cnn.com |date= |accessdate=2011-03-12}}</ref><ref name=bbc-huge-blast-nuclear>{{cite news |url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-12720219| title=Huge blast at Japan nuclear power plant (with video of explosion) |publisher=BBC News |date=12 March 2011 |accessdate=12 March 2011}}</ref><ref name="nhk-english-stream"/> ประชาชนซึ่งอยู่อาศัยในรัศมี 20 กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและรัศมี 10 กิโลเมตรรอบ[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดนิ]]ถูกสั่งอพยพ
บรรทัด 122:
 
[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ]] [[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดนิ|ฟุกุชิมะไดนิ]] [[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โอะนะงะวะ|โอะนะงะวะ]] และ[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โทไก|โทไก]] ซึ่งประกอบด้วยเตาปฏิกรณ์ทั้งสิ้น 11 เตา ถูกปิดลงอัตโนมัติหลังแผ่นดินไหว<ref name="11plants">{{cite web |url= http://www.news.com.au/world/japan-earthquake-evacuations-ordered-as-fears-grow-of-radiation-leak-at-nuclear-plant/story-e6frfkyi-1226020473244 |title=Japan earthquake: Evacuations ordered as fears grow of radiation leak at nuclear plant; News.com.au |first= |last=|work= News | location = AU |year=2011|quote=According to the industry ministry, a total of 11 nuclear reactors automatically shut down at the Onagawa plant, the Fukushima No. 1 and No. 2 plants and the Tokai No. 2 plant after the strongest recorded earthquake in the country's history|accessdate=2011-03-13}}</ref> ส่วนฮิกาชิโกริ ซึ่งตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือเช่นกัน ปิดตัวลงไปแล้วก่อนหน้านี้เพื่อตรวจสอบตามกำหนด ระบบทำความเย็นนั้นจำเป็นเพื่อกำจัดความร้อนจากการสลายหลังเครื่องปฏิกรณ์ถูกปิดลง และเพื่อรักษาบ่อเก็บเชื้อเพลิงใช้แล้ว กระบวนการหล่อเย็นสำรองได้พลังงานจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลฉุกเฉินที่โรงไฟฟ้า และที่โรงงานแปรสภาพเชื้อเพลิงใช้แล้วร็อกคาโช (Rokkasho)<ref name="nei-20110311">{{Cite news |url=http://www.neimagazine.com/story.asp?sectioncode=132&storyCode=2059127 |title=Japan initiates emergency protocol after earthquake |publisher=Nuclear Engineering International |date=11 March 2011 |accessdate=11 March 2011| archiveurl = http://www.webcitation.org/5y2ae6b0U | archivedate=18 April 2011| deadurl=no}}</ref> ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและไดนิ คลื่นสึนามิถาโถมข้ามยอดกำแพงกั้นน้ำและทำลายระบบพลังงานดีเซลสำรอง ทำให้เกิดปัญหาร้ายแรงที่ฟุกุชิมะไดอิชิ รวมทั้งเกิดเหตุระเบิดขนาดใหญ่ขึ้นสามครั้งและการรั่วไหลของกัมมันตภาพรังสี มีผู้ถูกอพยพไปมากกว่า 200,000 คน<ref>{{Cite news |url=http://www.guardian.co.uk/world/2011/mar/13/japan-nuclear-plants-fukushima-earthquake |title=Japan's nuclear fears intensify at two Fukushima power stations |publisher=The Guardian |date=2011-03-13 |accessdate=2011-03-13}}</ref> หลังจากความพยายามลดอุณหภูมิไม่ประสบผลมาเกือบสัปดาห์ จึงมีการใช้รถดับเพลิงและเฮลิคอปเตอร์ในการเทน้ำเพื่อลดอุณหภูมิ <ref>{{cite news|url=http://www.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/03/16/japan.nuclear.reactors/ |title=Helicopters dump water on nuclear plant in Japan |publisher=CNN |date= |accessdate=2011-03-17}}</ref><ref>{{cite news|url=http://www3.nhk.or.jp/news/html/20110319/t10014775021000.html|title=東京消防庁 3号機に向け放水|publisher=NHK News|date=2011-03-19 |accessdate=2011-03-19|archiveurl=http://web.archive.org/20110321012957/www3.nhk.or.jp/news/html/20110319/t10014775021000.html|archivedate=2011-03-21}}</ref>
 
เมื่อวิกฤตการณ์นิวเคลียร์ย่างเข้าสู่เดือนที่สอง ผู้เชี่ยวชาญยอมรับว่าฟุกุชิมะไดอิชิมิใช่อุบัติเหตุนิวเคลียร์ครั้งร้ายแรงที่สุด แต่ยุ่งยากซับซ้อนที่สุด<ref>[http://in.ibtimes.com/articles/132391/20110409/japan-nuclear-crisis-radiation.htm "Analysis: A month on, Japan nuclear crisis still scarring,"] ''International Business Times'' (Australia). 9 April 2011, retrieved 12 April 2011; excerpt, According to [[James M. Acton|James Acton]], Associate of the Nuclear Policy Program at the Carnegie Endowment for International Peace, "Fukushima is not the worst nuclear accident ever but it is the most complicated and the most dramatic ... This was a crisis that played out in real time on TV. Chernobyl did not." {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5y2agYEQZ|date=18 April 2011}}</ref> การวิเคราะห์ภายหลังบ่งชี้ว่าเครื่องปฏิกรณ์สามเครื่อง (หน่วยที่ 1, 2 และ 3) หลอมละลายและน้ำหล่อเย็นยังคงรั่วไหล<ref name="autogenerated2"/> จนถึงฤดูร้อน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรม, หัวหน้าสำนักงานความปลอดภัยนิวเคลียร์และอุตสาหกรรม และหัวหน้าสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ต้องพ้นจากตำแหน่งไป<ref>http://www.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/08/04/japan.nuclear.crisis/index.html?eref=ib_topstories</ref>